570 likes | 981 Views
ยุทธศาสตร์ การ แก้ไขปัญหาโรค อ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) ปี ๒๕๕๖. พัชรี วงศ์ษา ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี. วิสัยทัศน์ : ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี (Healthy Life Style for People NO BELLY). เป้าประสงค์ : ประชาชนอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
E N D
ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย(คนไทยไร้พุง) ปี ๒๕๕๖ พัชรี วงศ์ษา ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
วิสัยทัศน์ :ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี(Healthy Life Style for People NO BELLY) เป้าประสงค์ : ประชาชนอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย และอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดโรควิถีชีวิต 2
ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการทั้งส่วนกลางและพื้นที่ มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (Health Model) บุคลากรขององค์กร มีความรู้ ทักษะและความสามารถ ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ จุดหมายปลายทางการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง • ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก3 อ.2ส. • ประชาชนประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบDPAC(คลินิกไร้พุง) • หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/ชุมชน สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง และพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ • ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้า ทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ • องค์กรทุกระดับ และทุกภาคส่วน มีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ • ชุมชน องค์กร/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมคนไทยไร้พุง
การดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกินการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - สื่อที่หลากหลาย - ปัจจัยเอื้อทางกายภาพ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย การเข้าถึงแหล่งอาหาร ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพพันธุกรรมทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม Energy in (+) ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิก DPAC -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก
ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลักการ 3 อ. 2 ส. ประชาชนประเมิน และเฝ้าระวังพฤติ กรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ.2 ส. ชุมชน / องค์กร มีแกนนำ คนไทยต้นแบบไร้พุง ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่ องค์กรต้นแบบไร้พุง องค์กรทุกระดับ และทุกภาคส่วน มีนโยบาย มาตรการทางสังคม กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผน ยุทธ์ศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ สถานบริการพัฒนาสู่การเป็น ต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) มีระบบการบริการจัดการ และ ประสานงานภาคีเครือข่าย มีระบบเฝ้าระวังระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ ที่ทันสมัย มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ สมรรถนะของบุคลากร สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ วัฒนธรรมที่ดี
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย(คนไทยไร้พุง)ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย(คนไทยไร้พุง) โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย Thailand Healthy lifestyle strategic plan แผนงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(DM$HT)
กลุ่มเสี่ยงสูง Pre-DM/Pre-HT พฤติกรรมสี่ยง กลุ่มปกติ - FCG 100 - 125 - BP 120/80 – 139/89 ป่วย • -ภาวะอ้วน (BMI 25 กก./ม.2) • - การดื่มสุรา สูบบุหรี่ • การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม • ออกกำลังกายน้อย - FCG < 100 - BP < 120/80 - FCG ,FPG > 126 - BP >140/90 พิการ ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • - ตา • - ไต • เท้า • สมอง • หัวใจ กรอบแนวคิดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
เป้าหมายการดำเนินงาน ปรับพฤติกรรม 3อ. + 2ส. 1. ลดป่วย ลดพฤติกรรมเสี่ยง หมู่บ้านต้นแบบ (SRM) 2. ควบคุมโรค (good control) ลดพิการ ลดภาวะแทรกซ้อน คุณภาพชีวิตที่ดี
1. Approachกลุ่มประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • FCG 100 - 125 • BP 120/80 – 139/89 • FPG > 126 • BP >140/90 • ตา • ไต • เท้า • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. เข้มข้น • DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/DPAC • รักษาดู HbA1C • ค้นหาภาวะแทรกซ้อน • ถ่ายภาพจอประสาทตา • microalbuminuria • ตรวจเท้า • รักษาโรคและ • ภาวะแทรกซ้อน 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มปกติ • FCG < 100 • BP < 120/80 3อ. 2ส.
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชนลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค ทำไมทำ พฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม การบริโภคอาหารไม่สมดุล ออกกำลังกาย น้อย เครียด มหันตภัยเงียบ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ มะเร็ง
เด็กอ้วน..สู่..ผู้ใหญ่อ้วนเด็กอ้วน..สู่..ผู้ใหญ่อ้วน • โรคเบาหวาน • โรคหัวใจ • และหลอดเลือด • ความดันโลหิตสูง 30%-80% ที่มา รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องโภชนาการในเด็กฯ. วันที่ 15 มิ.ย.2552
ทำไม... เด็กไทย พันธุ์ใหม่อ้วนเตี้ยปัญญาทึบ???
เด็กไทย .... • ขาดภูมิคุ้มกันทางปัญญา • ตัดสินใจกินอาหารตามความรู้สึก • คาดไม่ถึงว่า ผลการกินไม่เป็น จะวกกลับมาทำลายชีวิตตัวเอง
ความจริงของเด็กไทย ... • ไม่ได้กินอาหารเช้า • กินอาหารเช้าที่ขาดคุณภาพ / ไม่พอ • กินอาหารกลางวันคุณภาพต่ำ • กิน – ดื่ม อาหารว่าง หวาน – มัน เค็ม จัด • ปฏิเสธกินผัก • ละทิ้งอาหารไทย
ความจริงที่ค้นพบ ห่างกัน 5 ปี เด็กไทยวัยก่อนเรียน อ้วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 40
อีก 10 ปี เด็กไทย 1 ใน 5 จะเป็นโรคอ้วน !!!
เด็กไทยวัยเรียน เดินมา 10 คน จะอ้วน – ท้วม 3 คน
เด็กไทยวัยเรียน ร้อยละ 49.6 กินขนมกรุบกรอบประจำ ห่างกัน 3 ปี กินเพิ่ม 2 เท่า
เด็กไทย จ่ายเงิน 1 แสนล้านบาท / ปี ซื้อขนมด้อยคุณค่า เฉลี่ยคนละ 9,800 บาทต่อปี จ่ายเงินเรียนหนังสือ 3,024 บาท
เด็กไทย 1 ใน 3 กินอาหารประเภท แป้ง ไขมัน น้ำตาล และโซเดียม สูง เป็นประจำ
หมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค วัตถุประสงค์ • เพื่อสร้างและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ลด หวาน มัน เค็ม ให้ประชาชนอย่างต่อเนื่อง • เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานต่างๆในจังหวัด ดำเนินงาน หมู่บ้าน ชุมชน ลดหวานมันเค็ม ลดอ้วน ลดโรค อย่างมีประสิทธิภาพ
หน่วยงานบูรณาการแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(DM$HT)ปี 2556 กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมสุขภาพจิต สำนักบริหารยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย สปสธ.
แผนยุทธศาสตร์ สุขภาพดีวีถีชีวิตไทย เพิ่มวิถีชีวิตที่พอเพียง การบริโภคที่เหมาะสม การออกกำลังกายที่เพียงพอ การจัดการอารมณ์ได้เหมาะสม ลดปัญหาโรควิถีชีวิต เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายปี 2556 รายจังหวัด
ยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทยยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทย
ยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทยยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทย
ยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทยยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทย
การดำเนินงานในชุมชนที่ส่งผลต่อการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงมีหลายรูปแบบ โดยหน่วยงานต่างๆ ประกอบด้วย กรมอนามัย องค์กรและชุมชนไร้พุงต้นแบบ กรมควบคุมโรค ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค
แผนงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (DM, HT) ปี 2556
1. ลดปัจจัยเสี่ยงในประชากร/ ชุมชน 1.1 การบริโภคอาหาร “หวาน มัน เค็ม” 1.2 การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ 1.3 การบริโภคยาสูบ 1.4 การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1.5 ภาวะอ้วน/ น้ำหนักเกิน 1.6 ภาวะเครียดและซึมเศร้า 2. ลดปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วย 2. ลดการเกิดโรค DM & HT รายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงสูง (Pre-DM & Pre-HT) 3. ลดภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต ตีน) การบริโภคยาสูบ สุรา และโรคซึมเศร้าในผู้ป่วย DM & HT เป้าประสงค์ (Goal)
คัดกรองประชาชน (DM, HT, อ้วน/ น้ำหนักเกิน) • ประชากร อายุ 15-34 ปี • ประชากร อายุ 35 ปี- 59 ปึ และ 60 ปีขึ้นไป • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (คลินิกให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหรือDPAC) • กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง (อ้วน/ น้ำหนักเกิน) กลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วย • การจัดการโรค (NCD คลินิกคุณภาพ) • การพัฒนาศักยภาพชุมชน/ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม • ชุมชนสุขภาพดีวิถีไทย • ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน • การสื่อสารความเสี่ยง/ การสื่อสารสาธารณะ (3อ 2ส) • การใช้มาตรการทางกฎหมาย นโยบาย และมาตรการทางสังคม • การพัฒนาระบบสนับสนุนการดำเนินงาน (ระบบข้อมูล การบริหารจัดการ) กลวิธีการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตัวชี้วัดการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นโยบายการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
การขับเคลื่อนตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน มีความรู้ ตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน วิสาหกิจชุมชน รพ.สต. อปท. ภาคประชาชน(อสม. บวร.) มีสุขภาพดี มีรายได้
สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืนสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีชุมชนมีการพัฒนาที่ยั่งยืน แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน • เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ • (DHSA : District Health System Appreciation) • เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) • บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) • การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) • งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร • ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทึ้งกัน • การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น • พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง • ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควิถีชีวิต • ลดความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต • นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี • ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) • สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) • แก้ไขปัญหาความยากจน(Poverty Eradication) • ภาครัฐ • มหาดไทย • พลังงาน • เกษตร • ศึกษาธิการ • พัฒนาสังคมฯ • สาธารณสุข • เอกชน • หน่วยงาน/องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง ตำบลจัดการสุขภาพดี วินิจฉัย/รักษา • Tele Medicine • [Web Camera] • Family Folder • Home Health Care • Home ward • HealthScreening • Curative • Referral System การก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพ โรคไร้เชื้อเรื้อรัง/โรคติดต่อทั่วไป กิจกรรมพัฒนาสุขภาพ/พฤติกรรมสุขภาพ สร้างรายได้ แก้ไขปัญหาความยากจน แผนสุขภาพตำบล วิสาหกิจชุมชน รพ.สต. • กองทุนในพื้นที่ (กองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนาสตรี กองทุนสัจจะ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ฯลฯ) • กองทุน CSR • กองทุนมูลนิธิ ภาคประชาชน(อสม. บวร.) อปท. • * กระบวนพัฒนาบทบาทภาคประชาชน • หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ • หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ • ภาคีเครือข่ายต่างๆบริหารยุทธศาสตร์ร่วมกัน • : SRM PLA AIC • การพัฒนาศักยภาพ อสม. • การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน • * รร.วัตกรรมสุขภาพชุมชน / รร.อสม. • กำหนดนโยบาย/ข้อบังคับ • - กระบวนการมีส่วนร่วม • - สอดคล้องกับท้องถิ่น • หาแนวร่วม/สร้างทีม/คณะทำงาน • จัดทำแผนสนับสนุนแผน • สนับสนุนการเรียนรู้ • ร่วมกำหนดนโยบายท้องถิ่น • สะท้อนข้อมูล • ร่วมในกระบวนการทำแผน • ร่วมปฏิบัติ/ดำเนินการ
ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจยั่งยืน สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน
ผลที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาผลที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา
นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี(Healthy public Policy) ชุมชนมีสุขภาพดี(Healthycommunity) สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) แก้ไขปัญหาความยากจน(Poverty Eradication) ผลลัพท์จากการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
๑ ) การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล(ระดับพื้นฐาน) ๑.๑ มีองค์ประกอบเครือข่ายที่เข้าร่วมทีมสุขภาพตำบลจากหลายภาคส่วน ๑.๒ มีการสร้างและพัฒนาทีมเครือข่ายสุขภาพตำบลโดยกำหนดเป้าหมายร่วมกัน ๑.๓ มีการพัฒนาศักยภาพทีมสุขภาพตำบล ในเรื่อง การจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หรือการทำแผนอย่างมีส่วนร่วมและใช้เกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพประกอบการพัฒนา) ๑.๔ มีการพัฒนาความรู้ อสม.ในเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและหลักสูตรนักจัดการสุขภาพ) ๑.๕ มีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทุนของวิสาหกิจชุมชน(เงิน/ทรัพยากร/ผลผลิต/ความรู้/ภูมิปัญญา/ทุนทางวัฒนธรรม/ทุนทางสังคม) เกณฑ์การประเมิน ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
๒) การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล(ระดับพัฒนา(ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานทุกข้อ) ๒.๑ มีการคืนข้อมูลสถานะสุขภาพชุมชน เพื่อสร้างการรับรู้ และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพตำบล ๒.๒ มีการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดยเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการวิเคราะห์ปัญหา/ร่วมจัดทำแผน/โครงการและกิจกรรม เพื่อการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการชุมชน ๒.๓ มีการระดมทรัพยากร ทุน และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนโครงการ ๒.๔ มีการสื่อสารแผนงาน โครงการ เพื่อการรับรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ ๒.๕ มีการวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน(เงิน/ทรัพยากร/ผลผลิต/ความรู้/ภูมิปัญญา/ทุนทางวัฒนาธรรม/ทุนทางสังคม) เกณฑ์การประเมิน ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
๓.การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ(ระดับดี)(ผ่านระดับพื้นฐาน/ระดับพัฒนา)๓.การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ(ระดับดี)(ผ่านระดับพื้นฐาน/ระดับพัฒนา) ๓.๑ มีชุมชน/ท้องถิ่นเป็นพลังสำคัญขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบล/โครงการ/กิจกรรม(ความเป็นเจ้าของ) ๓.๒ มีกิจกรรมเชิงรุกในหมู่บ้าน/ชุมชน/ตามแผนสุขภาพชุมชน ๓.๓ มี อสม. นักจัดการสุขภาพ ที่ได้รับการอบรมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างน้อย ร้อยละ ๒๐ ของที่ได้รับการอบรม ๓.๔ มีหมู่บ้านผ่านเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านจัดการสุขภาพดี ร้อยละ ๗๐ ๓.๕ มีการรวมตัวของกลุ่มบุคคลตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไปเพื่อดำเนินการวิสาหกิจชุมชน(ผลิตสินค้า/การให้บริการหรือการอื่นๆ) เกณฑ์การประเมิน ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
๔. ตำบลมีระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง(ระดับดีมาก)ผ่านพื้นฐาน/พัฒนา/ดี ๔.๑ มีข้อมูลที่จำเป็นเพื่อใช้ในการติดตามประเมินผล และรายงานความก้าวหน้าให้ชุมชนรับรู้อย่างต่อเนื่อง ๔.๒ มีกระบวนการติดตามและควบคุมกำกับ การบริหารจัดการ การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างสม่ำเสมอ ๔.๓ มีการสรุปประเมินผล เพื่อปรับกระบวนการ/กิจกรรม/โครงการ ๔.๔ มีผลลัพธ์ของการพัฒนาเช่น มาตรการทางสังคม/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๔.๕ มีวิสาหกิจชุมชนพื้นฐาน(การดำเนินการเพื่อการกิน เพื่อการใช้ในชุมชน เพื่อครอบครัว พึ่งตนเองได้ ลดรายจ่าย เพิ่มรายรับ)อย่างน้อย ๒ แห่งต่อตำบล เกณฑ์การประเมิน ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
๕.ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ(ระดับดีเยี่ยม)ต้องผ่านระดับพื้นฐาน/พัฒนา/ดี/ดีมาก ๕.๑ มีวิทยากรชุมชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็นครู ก หรือ วิทยากรกระบวนการ วิทยากรต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๕.๒ มีการสรุปบทเรียน การพัฒนา การจัดการความรู้ และนัวตกรรมสุขภาพชุมชนที่นำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสุขภาพ ๕.๓ มีการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สุขภาพชุมชน เช่น โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน โรงเรียน อสม.ที่มีหลักสูตรเป็นไปตามความต้องการของชุมชน ๕.๔ มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชน ตำบล ๕.๕ มีวิสาหกิจชุมชนก้าวหน้า(การนำผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน เข้าสู่ตลาด มีการปรับปรุงคุณภาพ ผลผลิต หีบห่อ สามารถแข่งขันได้ อย่างน้อย ตำบลละ ๑ แห่ง เกณฑ์การประเมิน ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน