1 / 46

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบนฐาน ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การสร้างความมั่นคงของ ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม . สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เป้าหมาย แผนฯ 10. ความอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน . สร้างสมดุลการพัฒนา. เศรษฐกิจ. สังคม. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

adia
Download Presentation

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  2. เป้าหมาย แผนฯ 10

  3. ความอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน สร้างสมดุลการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  4. สถานการณ์ ทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

  5. น้ำ • ความจุแหล่งน้ำ 51,100 ล้าน ลบ.ม. ความต้องการน้ำ 92,736 ล้าน ลบ.ม. ในปี 2548 • 177 ครั้ง ช่วงปี 2535-2548 เสียหาย 8.5หมื่นล้านบาท • แหล่งน้ำคุณภาพดีลดลง เจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนล่าง ลำตะคองตอนล่าง ทะเลสาบสงขลา ขาดแคลน น้ำท่วม คุณภาพ

  6. ดิน ที่ดิน • ที่ดินเสื่อมโทรมร้อยละ 60 เพิ่มขึ้น10ล้านไร่ ในรอบ10 ปี • ที่ดินทำกินโดยเฉลี่ยลดลง จาก21 ไร่/คนในปี 2536 เหลือ19.3 ไร่/คนในปี 2546 เสื่อมโทรม การถือครองที่ดิน

  7. ป่าไม้ • พื้นที่ป่าลดลงจากร้อยละ 53.3 ในปี 2504เหลือร้อยละ 32.6 ในปี 2546 • ปลูกป่าเพิ่มขึ้น แต่ขาดความหลากหลายทางชีวภาพ ถูกทำลาย จนระบบนิเวศเสียสมดุล

  8. ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ • สัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์ 586 ชนิด แนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ เพิ่ม4 ชนิด/ปี • ต่างประเทศแย่งชิง จดสิทธิบัตร แนวโน้ม สูญพันธุ์สูงขึ้น

  9. ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง • พื้นที่ป่าชายเลนลดลง จาก 2.05 ล้านไร่ ในปี 2504 เหลือ 1.5 ล้านไร่ในปี 2546 • ปะการังร้อยละ 50 หญ้าทะเลร้อยละ 30 เสื่อมโทรม • อัตราจับสัตว์น้ำลดลง 3 เท่า เสื่อมโทรมจากการบุกรุก ความสมบูรณ์ ลดลง

  10. แร่และพลังงาน • ผลิตแร่เพิ่มร้อยละ 4.4/ปี นำเข้าพลังงานมากกว่าร้อยละ 50 • ยิบซั่มเหลือใช้ 25 ปี สังกะสี 11 ปี ก๊าซธรรมชาติ 31 ปี ลิกไนต์ 112 ปี การใช้เพิ่ม อนาคตอาจขาดแคลน

  11. คุณภาพสิ่งแวดล้อม • ขยะและของเสียอันตราย 22 ล้านตัน ขยะชุมชนกำจัดถูกต้องร้อยละ 35 • ฝุ่นละอองขนาดเล็กและเสียงเกินมาตรฐานในเขตเมืองหลัก เปลี่ยนแปลง ดีขึ้น แต่ยังคง เสื่อมโทรม

  12. แหล่งศิลปกรรม โบราณสถาน • อุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา เหลือพื้นที่เพียง1 ใน 5 • พื้นที่มรดกโลกอาจถูก ถอดถอน ถูกบุกรุกทำลายจนเสื่อมโทรม

  13. บริบทการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ ต่อทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

  14. 1. การรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงในตลาดเงินของโลก1. การรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงในตลาดเงินของโลก +ข้อตกลง :เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ +การรวมกลุ่ม :ใช้ทรัพยากรร่วมกัน - การค้าและการแข่งขัน :ใช้ทรัพยากรเกินขีดความสามารถฟื้นตัวขัดแย้ง แย่งชิง - การลงทุน :ย้ายฐานการผลิตอุตสาหกรรมก่อมลพิษ

  15. 2. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี + เทคโนโลยีสะอาด :พลังงานทดแทน ลดมลพิษและ ทรัพยากร + เทคโนโลยีสารสนเทศ :การจัดการที่ดินป่าไม้ น้ำ +เทคโนโลยีชีวภาพ :ความหลากหลายทางชีวภาพ - สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ :ขยะเทคโนโลยี - เทคโนโลยีกับภูมิปัญญาท้องถิ่น :การแบ่งปันผลประโยชน์

  16. 3. มิติทางสังคมและโครงสร้างประชากร + ผู้สูงอายุ :บริการและอาหาร สุขภาพ ยา ภูมิปัญญาท้องถิ่น แพทย์พื้นบ้าน - เมือง:มลพิษเขตเมือง แย่งชิงทรัพยากรเมืองกับชนบท

  17. 4. บริบทการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม + พันธกรณี :บริหารจัดการ - โลกร้อน :การสูญพันธุ์ ภัยแล้ง น้ำท่วม ผลิตภาพการผลิต

  18. 5. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค +กระแสนิยมธรรมชาติ : อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ท่องเที่ยว สินค้าสีเขียว + กระแสสุขภาพ :ภูมิปัญญาท้องถิ่น สมุนไพร แพทย์แผนไทย - กระแสวัตถุนิยม :เร่งใช้ทรัพยากร - รูปแบบบริโภคใหม่ๆ :เคลื่อนย้ายพันธุ์ข้ามแดน คุกคามระบบนิเวศ

  19. กรอบแนวคิด

  20. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวทรัพยากรความสัมพันธ์ระหว่างตัวทรัพยากร น้ำ ดิน ที่ดิน ความหลากหลายทางชีวภาพ ป่าไม้ ทะเลและชายฝั่ง ครอบคลุมทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สำคัญ แร่และพลังงาน

  21. ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และ ความหลากหลายทางชีวภาพ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ ทรัพยากรธรรมชาติ คุกคาม ป้องกัน รักษาเสริมสร้าง สนับสนุน ความหลากหลายทางชีวภาพ ใช้ประโยชน์

  22. โอกาสจากบริบทการเปลี่ยนแปลงโอกาสจากบริบทการเปลี่ยนแปลง แข่งขัน การรวมตัวทางเศรษฐกิจ สร้างมูลค่าเพิ่ม และคุณค่า เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ พันธุกรรม+ภูมิปัญญา ผู้สูงอายุ บริการ อาหารสุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม เสื่อมโทรม ฟื้นฟูป่าคุ้มครองระบบนิเวศ พฤติกรรมผู้บริโภค สุขภาพ ธรรมชาติ โอกาสพัฒนาสินค้า บริการ

  23. ความพร้อมของประเทศ อุปสงค์ เครือข่ายวิสาหกิจการผลิตสมุนไพร 2,500 แห่ง อุปทาน ตลาดผลิตภัณฑ์ธรรมชาติในโลก 400,000 ล้านบาท ร้อยละ 80 ของตัวยาที่ผลิตจากความหลากหลายทางชีวภาพมาจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ตลาดเครื่องเทศสมุนไพรไทย 48,000 ล้านบาท ความหลากหลายของสายพันธุ์ที่มีคุณค่าต่อการผลิต 140,000 ชนิด ที่มา: เอกสารประกอบการประชุมคณะอนุกรรมการเทคโนโลยีชีวภาพด้านการพัฒนาชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 2/2548

  24. วงจรการเสริมสร้างทุนที่ยั่งยืนวงจรการเสริมสร้างทุนที่ยั่งยืน ทุนทางสังคม การจัดการโดยชุมชนมีส่วนร่วม กระจายผลประโยชน์ทั่วถึง เป็นธรรม มั่นคงยั่งยืนในการดำรงชีพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น+ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ความรู้ใหม่ รู้เท่าทัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทุนเศรษฐกิจ ความหลากหลายทางชีวภาพ ตลาด สร้างมูลค่า รายได้ นวัตกรรม บริการ การผลิต

  25. นิยมธรรมชาติดูแลสุขภาพนิยมธรรมชาติดูแลสุขภาพ สังคมผู้สูงอายุ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข ภาพลักษณ์ตราสินค้าไทย • กำหนดนโยบายระดับชาติ : • สังคมที่มีสุขภาพดี • ดูแลสุขภาพโดยพึ่งตนเอง สร้างจุดแข็ง มาตรฐานความปลอดภัย สภาพแวดล้อมที่ดีควบคุมมลพิษ ขยะ เมือง อุตสาหกรรม ความต้องการ เที่ยวเชิงนิเวศน์ แปรรูปอาหาร/สมุนไพร เทคโนโลยีระดับสูง สมุนไพร กิจกรรมรักษาสุขภาพ นวดไทย สปา อาหาร อาหารเพื่อสุขภาพ เกษตรปลอดสารพิษ สารสกัดจากธรรมชาติ แพทย์แผนไทย ยา บริการสุขภาพ จุดแข็งและศักยภาพ เครื่องสำอาง ความเข้มแข็งชุมชน บทบาท สิทธิชุมชน วิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี ภูมิปัญญา รักษาระบบนิเวศน์ เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ สุขภาพวิถีธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ องค์ความรู้ นวัตกรรม

  26. วัตถุประสงค์หลัก • อนุรักษ์ฟื้นฟู ยกระดับ สร้างคุณค่า ความหลากหลายทางชีวภาพ • เสริมสร้าง ทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ ให้สมดุลยั่งยืน • วางรากฐานปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ

  27. หลักการกำหนดแนวทาง 1.อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรและดูแลสิ่งแวดล้อม 2.ใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างระมัดระวัง ให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 3.ใช้จุดแข็งจากความหลากหลายทางชีวภาพ และโอกาสจากบริบทการเปลี่ยนแปลง 4.บริหารจัดการความขัดแย้งการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติโดยสันติ

  28. แนวทางการพัฒนา 1.รักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ 2.สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีและควบคุมมลพิษ 3.พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.การบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้

  29. 1. รักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศ

  30. แนวทางการขับเคลื่อน รัฐ กระจายอำนาจ บูรณาการ ฟื้นฟู ข้อมูล องค์ความรู้ ดิน ที่ดิน อนุรักษ์ สมดุล ใช้ประโยชน์ น้ำ บริหารจัดการ ป่า มีส่วนร่วม ความหลากหลายทางชีวภาพ ประชาชน

  31. บทบาทภาคี กำกับดูแล เครือข่ายส่วนร่วม สร้างความเข้าใจ ข้อมูล บริหาร จัดการ รัฐ เอกชน ภาควิชาการ อปท. องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชน/ประชาชน สื่อมวลชน

  32. 2. สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีและควบคุมมลพิษ

  33. ควบคุมบำบัด แนวทางการขับเคลื่อน  มลพิษ พลังงาน ประหยัด ผลิต บริโภค สะอาด ขนส่ง ประชาชน ท้องถิ่น รัฐ กำกับดูแล จูงใจ ร่วมมือ กระจายอำนาจ องค์ความรู้

  34. บทบาทภาคี ผลิต/บริโภคประหยัด/สะอาด กำกับดูแล เครือข่าย สร้างความเข้าใจ จูงใจ รัฐ เอกชน ภาควิชาการ อปท. องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชน/ประชาชน สื่อมวลชน

  35. 3. พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น

  36. แนวทางการขับเคลื่อน สร้างคุณค่า สมุนไพร ยาไทย แพทย์แผนไทย วิจัยและพัฒนา ภูมิปัญญา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ฐานข้อมูล ประชาชน รัฐ ความหลากหลายทางชีวภาพ ปกป้อง ฟื้นฟู เกษตรอินทรีย์ เกษตรยั่งยืน ความมั่นคงปลอดภัยด้านอาหาร

  37. บทบาทภาคี ปกป้องฟื้นฟู ข้อมูล เครือข่าย สร้างความเข้าใจ วิจัยพัฒนา สร้างคุณค่า รัฐ เอกชน ภาควิชาการ อปท. องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชน/ประชาชน สื่อมวลชน

  38. 4. การบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้

  39. บทบาทภาคี วิจัยและพัฒนา หลักสูตร เผยแพร่ อบรม เรียนรู้ รัฐ เอกชน ภาควิชาการ อปท. องค์กรพัฒนาเอกชน ชุมชน/ประชาชน สื่อมวลชน

  40. กระบวนการและกลไก • ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ • ส่งเสริมความร่วมมือบริหารจัดการระหว่างประเทศ • กระจายอำนาจบริหารจัดการ • แก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี

  41. ตัวชี้วัดสำหรับติดตามผลตัวชี้วัดสำหรับติดตามผล ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม

  42. ตัวชี้วัดสำหรับติดตามผลตัวชี้วัดสำหรับติดตามผล • รักษาฐานทรัพยากรและสมดุลระบบนิเวศพื้นที่ป่า พื้นที่เกษตรกรรมระบบบริหาร 25 ลุ่มน้ำคุณภาพน้ำแม่น้ำสายหลักพื้นที่ป่าชายเลน พันธุ์พืช สัตว์

  43. ตัวชี้วัดสำหรับติดตามผลตัวชี้วัดสำหรับติดตามผล • สร้างสภาพแวดล้อมที่ดีอัตราเกิดขยะ ของเสีย คุณภาพอากาศ เสียงระบบบำบัดน้ำเสีย แหล่งธรรมชาติ ศิลปกรรมบัญชีสินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมการประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์หน่วยงาน ระเบียบ กลไก การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม สุขภาพ

  44. ตัวชี้วัดสำหรับติดตามผลตัวชี้วัดสำหรับติดตามผล • พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพระบบฐานข้อมูลจำนวนเครือข่ายชุมชนความเข้มแข็งวิสาหกิจชุมชน การขยายตัวการผลิต บริการ

  45. ตัวชี้วัดสำหรับติดตามผลตัวชี้วัดสำหรับติดตามผล • การบริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้บุคลากร อปท. หลักสูตร ศึกษาวิจัย ประชาสัมพันธ์

  46. Nature knows best

More Related