230 likes | 466 Views
ยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘. การประชุมพิจารณา ร่างกรอบยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๙.๓๐-๑๔.๐๐ น. ณ ห้องประชุมกฤษณะ ผลอนันต์ อาคาร ๓ ชั้น ๒. ระเบียบวาระการประชุม.
E N D
ยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘
การประชุมพิจารณา ร่างกรอบยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๙.๓๐-๑๔.๐๐ น. ณ ห้องประชุมกฤษณะ ผลอนันต์ อาคาร ๓ ชั้น ๒
ระเบียบวาระการประชุม เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ 1 2 เรื่องเพื่อทราบ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา 4 เรื่องอื่นๆ
สาระสำคัญของร่างกรอบยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘
วิเคราะห์แผนภาพอนาคตเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนวิเคราะห์แผนภาพอนาคตเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 58 ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ๑. เกิดความเชื่อมโยงกันทั้งด้านกายภาพ สถาบัน และระหว่างประชาชน ๒. กระตุ้นให้ทุกภาคส่วนเตรียมความพร้อมและพัฒนาตามกรอบอาเซียน ๓. เกิดความร่วมมือระดับภูมิภาคอาเซียนในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ๑. สร้างความร่วมมือด้านการป้องกันทางการทหารและความมั่นคงอาเซียน ๒. การดำเนินงานภายใต้ความร่วมมือต่างๆจะก่อให้เกิดสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาคอาเซียน ๓. การพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับพันธกรณีอาเซียน ๑. ทุกประเทศมองการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเป้าหมายร่วมกัน ผลประโยชน์แห่งชาติของทุกประเทศมีความสอดคล้องกัน ๒. การเชื่อมโยงเศรษฐกิจภูมิภาค ทำให้ประชาคมอาเซียนสามารถขยายตัวเพื่อสร้างความเข้มแข็งในอนาคตได้มาก ๓. บรรยายการค้าและการลงทุนเสรีมากขึ้น เชิงบวก ๑. โครงสร้างพื้นฐานที่มีความเชื่อมโยงระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคจะเอื้ออำนวยต่อการลำเลียงยาเสพติดทั้งต่อประเทศต้นทางที่เป็นแหล่งผลิตผู้ผลิตยาเสพติด ประเทศทางผ่านที่เป็นจุดแวะพัก และประเทศปลายทางที่เป็นตลาดผู้บริโภค ๒. เส้นทางลำเลียงยาเสพติดจะมีความหลากหลาย และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาก่อให้เกิดความยุ่งยากในการสกัดกั้นและปราบปราม ๑. เกิดเคลื่อนย้ายของประชากรในภูมิภาคอาเซียน เกิดปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง แรงงานต่างด้าว มีความแตกต่างและหลากหลายทางประชากร เกิดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ช่องว่างของการพัฒนา และความขัดแย้งทางสังคม ๒. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้เด็กและ เยาวชนสามารถเข้าถึงสื่อต่างๆได้ง่ายเกิด พฤติกรรมเสี่ยง เบี่ยงเบน และเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด ๓. การมีทัศนคติเชิงลบต่อประเทศเพื่อนบ้าน ๑. กลุ่มก่อการและอาชญากรรมข้ามชาติแสวงประโยชน์จากการเปิดเสรีและเคลื่อนย้ายเสรี ๒. แผนประทุษกรรมเกี่ยวกับอาชญากรรมและยาเสพติดจะพัฒนารูปแบบที่พลิกแพลงมากขึ้น ๓. การใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ให้เอื้อต่อการประกอบอาชญากรรมระหว่างประเทศ ธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศ และการฟอกเงิน เชิงลบ Market Value
การวิเคราะห์ทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์โดย SWOT analysis โอกาส 1. การสร้างประชาคมอาเซียนด้วยโครงสร้างแบบเสาหลัก 2. การเชื่อมโยงภูมิภาคเพื่อก้าวสู่ความเป็นหนึ่งเดียว 3. อาเซียนในฐานะองค์การระหว่างประเทศและสถาบันของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องปรับตัวภายใต้เงื่อนไขของภูมิภาคนิยมแบบใหม่กับกระแสโลกาภิวัตน์ ภัยคุกคาม 1. ภัยคุกคามรูปแบบใหม่จะส่งกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงรูปแบบใหม่ 2. ประเทศเพื่อนบ้านยังคงมีการปลูกพืชเสพติดและมีแหล่งผลิตยาเสพติดจำนวนมาก 3. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และต่างประเทศส่งผลโดยตรงต่อการเกิด การดำรงอยู่ และการขยายตัวของปัญหายาเสพติดในประเทศไทย จุดแข็ง 1. ทุกประเทศสนับสนุนปฏิญญาอาเซียนปลอดยาเสพติดและเห็นว่ายาเสพติดเป็นความท้าทายร่วมกัน 2. ประเทศไทยได้มีบทบาทที่สำคัญในการผลักดันการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระภูมิภาค 3. ประเทศไทยได้รับการยอมรับจากนานาประเทศในด้านความสำเร็จของการพัฒนาทางเลือกเพื่อแก้ไขปัญหาพืชยาเสพติด 1. ขยายความร่วมมือในทุกมิติกับประเทศหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ 2. การพัฒนาทางเลือกเป็นยุทธศาตร์ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ 1. สกัดกั้นยาเสพติดทางบก ทางทะเล และทางอากาศ 2. ปราบปรามองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติและ เครือข่ายการค้ายาเสพติด 3. เสริมสร้างความมั่นคงพื้นที่ชายแดน จุดอ่อน 1. ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านขึ้นอยู่กับเรื่องความสัมพันธ์ ศักยภาพในการดำเนินงาน และเงื่อนไขภายในประเทศของแต่ละประเทศ 2. ประเทศเพื่อนบ้านยังคงมีข้อจำกัดและความไม่พร้อมหลายด้านทั้งด้านงบประมาณ บุคลากร และองค์ความรู้ ส่งผลอย่างมากต่อการแก้ไขปัญหาในภูมิภาค 3. การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับพันธกรณีต่างๆหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องขอความเห็นชอบจากรัฐสภา 1. เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศ เพื่อนบ้านทั้งในระดับทวิภาคีและระดับภูมิภาค 2. พัฒนาศักยภาพประเทศเพื่อนบ้านในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 1. การป้องกันยาเสพติด 2. การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด 3. การบริหารจัดการ 4. การวิจัยและพัฒนา 5. การเตรียมความพร้อม
๑ นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๘ ๒ ๖ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘ ความเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ ๓ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๖๐ ๕ ยุทธศาสตร์ประเทศ ๔ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙
กรอบความคิดทางยุทธศาสตร์กรอบความคิดทางยุทธศาสตร์ ๑. กำหนดเป็นยุทธศาสตร์ร่วมในการเป็นเขตปลอดยาเสพติด อาเซียนปี ๒๕๕๘ ๒. ทำให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระภูมิภาค ๓. ขยายจุดร่วมเพื่อพัฒนาความร่วมมือเชิงรุก มุ่งผล การปฏิบัติที่ส่งผลต่อการลดปัญหายาเสพติดโดยเร็ว เสริมสร้างความพร้อมให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ ขยายความร่วมมือเชิงรุก ต่อมาตรการที่ส่งผลต่อการลด ปัญหายาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาความร่วมมือในหลาย รูปแบบตามความเหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจ เตรียมการ สร้างความพร้อม ต่อมาตรการที่จะมุ่ง ขยายความร่วมมือที่มากขึ้น เสริมบทบาทภาคีนอกกลุ่มประเทศ อาเซียนหรืออาเซียนบวก
เป้าหมายทางยุทธศาสตร์เป้าหมายทางยุทธศาสตร์ ๑. ลดปัญหายาเสพติดในกลุ่มประเทศอาเซียนให้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย ภายใต้กรอบการทำให้อาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติด ในปี ๒๕๕๘ ๒. สร้างความพร้อม เตรียมการ และพัฒนาความร่วมมือ ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มประเทศอาเซียนให้มากที่สุด ๓. เตรียมระบบเตรียมการและกลไกต่างๆของหน่วยงานด้านยาเสพติดให้มีความพร้อมรับสถานการณ์ต่างๆในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘
จุดเน้นทางยุทธศาสตร์ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘ ๑. การเร่งและขยายการปฏิบัติตามกรอบของการทำให้อาเซียนปลอดยาเสพติดปี ๒๕๕๘ ร่วมกันสกัดกั้นปราบปรามการผลิต การค้า การลำเลียงยาเสพติดเพื่อลดอุปทานยาเสพติดจากประเทศผู้ผลิต ประเทศทางผ่านที่จะเข้ามายังประเทศไทย เพื่อลดปัญหายาเสพติดก่อนที่จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘ ๒. การแสวงหาการเพิ่ม มาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อ การแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่ม ประเทศอาเซียน ความร่วมมือระหว่างประเทศในลักษณะ ทวิภาคี ไตรภาค พหุภาคี ๓. การเตรียมความพร้อมของ กลไกที่เกี่ยวข้องตามมาตรการ ต่างๆเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘
มาตรการและแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญมาตรการและแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ มาตรการ 1. เร่งขยายความร่วมมือการปฏิบัติเพื่อยกระดับการแก้ไขปัญหาร่วมกัน 2. เตรียมการขยายความร่วมมือด้านต่างๆให้มากขึ้น 4 ขยายความร่วมมือภาคีนอกกลุ่มอาเซียน 5. จัดระบบกลไกรองรับงานด้าน ยาเสพติด 3. เตรียมความพร้อมการดำเนินงาน แนวทาง 1. พัฒนาความ ร่วมมือด้านสกัด กั้นทางบก-น้ำ 2. พัฒนาความร่วม มือการสกัดกั้น เคมีภัณฑ์และสาร ตั้งต้น 3. พัฒนาความ ร่วมมือด้าน ข้อมูลเฝ้าระวัง ยาเสพติด 4. รณรงค์ป้องกัน การแพร่ระบาด ยาเสพติดที่ สำคัญ 1. เตรียมการระบบ บำบัดรักษา 2. เตรียมการ รณรงค์ป้องกัน 3. เตรียมการ พัฒนากฎหมาย 4. เตรียมการ พัฒนาการตรวจ พิสูจน์ 1. ขยายความ ร่วมมือกับจีน 2. ขยายความ ร่วมมือกับ สหรัฐอเมริกา 3. ขยายความร่วมมือ กับ UNODC 1. จัดระบบกลไก อำนวยการ ของ ป.ป.ส. 2. จัดระบบกลไก หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 3. วางระบบงาน การป้องกัน และแก้ไข ปัญหา ยาเสพติด 1. ขยายความร่วมมือ ด้านการปราบปราม 2. สกัดกั้นการลักลอบค้า ยาเสพติดผ่านเส้นทาง คมนาคมท่าอากาศยาน (AITF) 3. พัฒนาเครือข่ายความ ร่วมมือการประสาน งานชายแดน BLO 4. ลดพื้นที่ปลูกฝิ่นด้วย การพัฒนาทางเลือก 5. เพิ่มระดับความร่วมมือ การตรวจพิสูจน์ยาเสพติด 12
โครงการความร่วมมือด้านการปราบปรามการผลิตและการค้ายาเสพติดไทย-พม่าโครงการความร่วมมือด้านการปราบปรามการผลิตและการค้ายาเสพติดไทย-พม่า • ป.ป.ส. สตช. โครงการที่สำคัญ มาตรการที่ ๑ เร่งและขยายการปฏิบัติตามกรอบอาเซียนปลอดยาเสพติดปี ๒๕๕๘ โครงการความร่วมมือด้านการปราบปรามการค้ายาเสพติดไทย-สปป.ลาว • ป.ป.ส. สตช. โครงการความร่วมมือด้านการปราบปรามการค้ายาเสพติดไทย-กัมพูชา • ป.ป.ส. สตช. (1) การสื่อสารภายในองค์กร: โครงการความร่วมมือด้านการปราบปรามการค้ายาเสพติดไทย-มาเลเซีย • ป.ป.ส. สตช. (1) การสื่อสารภายในองค์กร: โครงการความร่วมมือด้านการข่าวกรองยาเสพติดไทย-พม่า • ป.ป.ส. สตช. กห. โครงการความร่วมมือด้านการข่าวกรองยาเสพติดไทย-สปป.ลาว • ป.ป.ส. สตช. กห. โครงการความร่วมมือด้านการข่าวกรองยาเสพติดไทย-กัมพูชา • ป.ป.ส. สตช. กห. โครงการสกัดกั้นการลักลอบค้ายาเสพติดผ่านเส้นทางคมนาคมท่าอากาศยานหลัก • ป.ป.ส. สตช. ศก. โครงการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือการประสานงานชายแดนเพื่อการสกัดกั้นยาเสพติด • ป.ป.ส. มท. โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านการตรวจพิสูจน์ยาเสพติดกับประเทศอาเซียน • ป.ป.ส. สตช. สธ. โครงการเดินทางไปศึกษาดูงานประเทศมาเลเซีย-สิงคโปร์-อินโดนีเซีย-ฟิลิปปินส์-บรูไน • ป.ป.ส. โครงการปรับปรุงโครงสร้าง ระบบงานสำหรับหน่วยงานที่รองรับการปฏิบัติภายใต้กรอบ ยุทธศาสตร์ • ป.ป.ส.
โครงการที่สำคัญ โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านการปราบปรามการผลิตและการค้ายาเสพติดในกลุ่ม ประเทศอาเซียน • ป.ป.ส. สตช. มาตรการที่ ๒ เตรียมการขยายความร่วมมือการปฏิบัติในด้านต่างๆ โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านการข่าวกรองยาเสพติดในกลุ่มประเทศอาเซียน (1) การสื่อสารภายในองค์กร: (1) การสื่อสารภายในองค์กร: • ป.ป.ส. สตช. (1) การสื่อสารภายในองค์กร: โครงการขยายความร่วมมือและพัฒนาประสิทธิภาพท่าอากาศยานนานาชาติสู่การเป็นเครือข่าย อาเซียน • ป.ป.ส. สตช. ศก. โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านการสกัดกั้นยาเสพติดทางบกกับประเทศพม่า สปป.ลาว กัมพูชา มาเลเซีย • ป.ป.ส. สตช. กห. • ป.ป.ส. สตช. กห. โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านการสกัดกั้นยาเสพติดทางน้ำ พม่า สปป.ลาว กัมพูชา มาเลเซีย โครงการพัฒนาความร่วมมือด้านข้อมูลเฝ้าระวังยาเสพติดในกลุ่มอาเซียน • ป.ป.ส. โครงการเครือข่ายผู้นำเยาวชนป้องกันยาเสพติด • ป.ป.ส. ศธ. พม. กต.
โครงการที่สำคัญ โครงการเตรียมความพร้อมด้านการบำบัดรักษาในกลุ่มประเทศอาเซียน • สธ. ยธ. มาตรการที่ ๓ เตรียมความพร้อมการดำเนินงานรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โครงการเตรียมความพร้อมและพัฒนาความร่วมมือด้านการบำบัดรักษาในกลุ่มประเทศ CLMV • สธ. ยธ. (1) การสื่อสารภายในองค์กร: (1) การสื่อสารภายในองค์กร: (1) การสื่อสารภายในองค์กร: โครงการพัฒนามาตรฐานการบำบัดรักษา ATS • สธ. ป.ป.ส. (1) การสื่อสารภายในองค์กร: โครงการวางระบบข้อมูลการบำบัดรักษาในกลุ่มอาเซียน • สธ. ป.ป.ส. (1) การสื่อสารภายในองค์กร: • สตช ป.ป.ส. โครงการวางระบบข้อมูลผู้ถูกจับกุมคดียาเสพติดในกลุ่มประเทศอาเซียน • ป.ป.ส. โครงการเตรียมความพร้อมการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในกลุ่มประเทศอาเซียน โครงการเตรียมความพร้อมการพัฒนากฎหมายด้านยาเสพติด • ป.ป.ส. ยธ.. โครงการ Watch List ในกลุ่มประเทศอาเซียนรองรับการเชื่อมต่อ • ป.ป.ส. สตช. โครงการเตรียมการพัฒนาความร่วมมือด้านวิชาการด้านยาเสพติด • ป.ป.ส. สธ. • ป.ป.ส. รง. โครงการรณรงค์ป้องกันให้ความรู้โทษทางกฎหมายของยาเสพติดกับประชาชน ตามแนวชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้านทุกประเทศและประชากรวัยแรงงาน ที่มีการย้ายถิ่นข้ามชาติ
โครงการทวิภาคีว่าด้วยความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดโครงการทวิภาคีว่าด้วยความร่วมมือด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ระหว่างประเทศไทย-สปป.ลาว และระหว่างประเทศไทย-กัมพูชา • ป.ป.ส. กต. สธ. ศธ. พม. โครงการที่สำคัญ มาตรการที่ ๓ เตรียมความพร้อมการดำเนินงานรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โครงการพัฒนาทางเลือกไทย-พม่า • ป.ป.ส. โครงการศูนย์การเรียนรู้ภูมิภาคด้านการสำรวจพืชเสพติดระยะไกล • ทภ.3 กอ.รมน. กต. โครงการศูนย์เรียนรู้ภูมิภาคด้านการพัฒนาทางเลือก • ป.ป.ส. โครงการประชุมทวิภาคีความร่วมมือปราบปรามยาเสพติด • ป.ป.ส. สตช. โครงการความร่วมมือปราบปรามยาเสพติดภายใต้กรอบพหุภาคี • ป.ป.ส. สตช.
โครงการที่สำคัญ โครงการความร่วมมือสกัดกั้นยาเสพติดตามลำน้ำโขงร่วมกับประเทศพม่า สปป.ลาว จีน • ป.ป.ส. สตช. มาตรการที่ ๔ ขยายความร่วมมือภาคีนอกกลุ่มประเทศอาเซียน • ป.ป.ส. สตช. โครงการพัฒนาความร่วมมือการสกัดกั้นสารตั้งต้นร่วมกับ พม่า สปป.ลาว กัมพูชา จีน และอินเดีย (1) การสื่อสารภายในองค์กร: (1) การสื่อสารภายในองค์กร: (1) การสื่อสารภายในองค์กร: โครงการความร่วมมือด้านการข่าวและปราบปรามยาเสพติดระหว่าง-สหรัฐอเมริกา • ป.ป.ส. สตช. (1) การสื่อสารภายในองค์กร: โครงการความร่วมมือด้านการปราบปรามการผลิตและการค้ายาเสพติดไทย-พม่า • ป.ป.ส. สตช.
โครงการที่สำคัญ โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งตามแนวชายแดนในระดับตำบล • มท. ทท. สตช. สถ. มาตรการที่ ๕ จัดระบบกลไกรองรับงานด้านยาเสพติดตามยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนาด่านถาวรทุกด่านในประเทศให้มีความพร้อมในการสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน • สตช. ทท. ศก. โครงการสร้างภูมิป้องกันยาเสพติดในทุกโรงเรียนในจังหวัดชายแดน • ศธ. สตช. โครงการสร้างความพร้อมระบบบำบัดรักษาในจังหวัดชายแดน • สธ. โครงการเตรียมความพร้อมบุคคลากรด้านยาเสพติดรองรับประชาคมอาเซียน • กต. ป.ป.ส. โครงการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ • ป.ป.ส. โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการสกัดกั้นเส้นทางภายในประเทศเชื่อมโยงกับอาเซียน • ป.ป.ส. ทท. โครงการจัดระเบียบความมั่นคงตามแนวชายแดน • มท. สตช. ทท. ป.ป.ส. โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานประกอบการที่มีแรงงานในประเทศอาเซียน • รง. ป.ป.ส. โครงการพัฒนา Best Practice • ป.ป.ส. โครงการรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดที่สำคัญ • ป.ป.ส.
โครงการที่สำคัญ โครงการเสริมสร้างทักษะชีวิตคิดให้เป็น เน้นคุณธรรมนำพาเด็กไทยสู่อาเซียน • ศธ. ป.ป.ส. มาตรการที่ ๕ จัดระบบกลไกรองรับงานด้านยาเสพติดตามยุทธศาสตร์ • สธ. ป.ป.ส. โครงการพัฒนาสถานบำบัดรักษาในจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศกัมพูชา สปป.ลาว พม่า โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับปรุงมาตรการเดินทางเข้า-ออกของประชากรใน กลุ่มประเทศชายแดน • มท. ทท. ป.ป.ส. • มท. ทท. ป.ป.ส. โครงการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานพลเรือนหรือหน่วยงานกึ่งหน่วยทหาร ในการป้องกันตามแนวชายแดน โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • มท. ทท. ป.ป.ส.
มาตรการ เสถียรภาพ กลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘ การดำเนินกิจกรรมการควบคุมยาเสพติดที่ผิดกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ พร้อมทั้งลดผลต่อเนื่องต่างๆในเชิงลบอันอาจเกิดขึ้นกับสังคม รวมทั้งการลดลงอย่างยั่งยืนและมีนัยสำคัญในเรื่องพื้นที่ปลูกพืชเสพติด การผลิตและการลำเลียงยาเสพติดและอาชญากรรมอื่นๆที่เกี่ยวเนื่องกับยาเสพติด และการแพร่ระบาดของการใช้ยาเสพติด เร่งขยายความร่วมมือ • ประชาคมการเมืองและความมั่นคง • ประชาคมเศรษฐกิจ • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม เตรียมการขยายความร่วมมือ เตรียมความพร้อม โครงการ ขยายความร่วมมือ จัดระบบกลไก Joint Declaration for A Drug Free ASEAN 2015 คณะกรรมการ ป.ป.ส. ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ คณะอนุกรรมการบริหารแผนยุทธศาสตร์ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะร่างกรอบยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนปี ๒๕๕๘ วาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา
Download เอกสารการประชุม www.nccd.go.th 22