1 / 42

โครงการอบรมอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ วันที่ 20 สิงหาคม 2555

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. โครงการอบรมอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 โดย น.ส.บุษฎี สันติพิทักษ์ รองอธิบดีกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. จุดเริ่มต้นของอาเซียน.

morrie
Download Presentation

โครงการอบรมอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ วันที่ 20 สิงหาคม 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน โครงการอบรมอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 โดย น.ส.บุษฎี สันติพิทักษ์ รองอธิบดีกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ

  2. จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations: ASEAN) ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510

  3. ความเป็นมา ก่อตั้ง:8 สิงหาคม 2510 โดย รมว.กต. อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” สมาชิก:10 ประเทศ สมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไน (2527) เวียดนาม (2538) ลาว เมียนมาร์ (2540) และกัมพูชา (2542) 3

  4. วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ

  5. ASEAN Facts ประชากร – 600.15 ล้านคน (ปี 2553) พื้นที่- 4.5 ล้าน ตร. กม. ศาสนาหลัก- อิสลาม พุทธ คริสต์ ฮินดู GDP รวม2.4 ล้านล้าน ดอลลาร์สหรัฐ

  6. บทบาทสำคัญของไทยในอาเซียนบทบาทสำคัญของไทยในอาเซียน ไทยเป็น 1 ใน 5 ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้งอาเซียน (อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ) ไทยผลักดันให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)เมื่อปี 2535 เลขาธิการอาเซียน 2 ท่าน (ดร.แผน วรรณเมธี และ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ) ริเริ่มเรื่องการเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนและกับนอกภูมิภาค(EnhancedASEAN Connectivity & beyond)

  7. ความสำคัญของอาเซียนต่อไทย ในด้านเศรษฐกิจ ท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวอาเซียนมาไทย 4 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 30 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด การค้า เป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย มีมูลค่าการค้าระหว่างกัน 74,696 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 19.99 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทยและไทยได้เปรียบดุลการค้า 1 หมื่นล้าน USD การลงทุน สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย 811.36 ล้าน USD และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 USD (ปี 2553)

  8. เอกสารสำคัญด้านการเมืองความมั่นคงเอกสารสำคัญด้านการเมืองความมั่นคง • ปฏิญญากรุงเทพฯ • สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • Bali Concord II/Bali Concord III • ปฏิญญาว่าด้วยแนวปฏิบัติของประเทศภาคีในทะเลจีนใต้

  9. กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อ 20 พ.ย. 2550 ผู้นำอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ - มีกฎกติกาในการทำงาน - มีประสิทธิภาพ - มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีผลใช้บังคับเมื่อ 15 ธ.ค. 2551

  10. กฎบัตรอาเซียน ในแง่กฎหมาย : ธรรมนูญ (Constitution) ก่อตั้ง ASEAN ให้เป็นองค์การระหว่างประเทศ ยืนยันการมีนิติฐานะของ ASEAN ทำให้ ASEAN อยู่บนพื้นฐานของกฏเกณฑ์ จัดโครงสร้างภายใน ASEAN ให้ดีขึ้น กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)

  11. กฎบัตรอาเซียน ด้านการเมือง ระบุหลักการสำคัญ อาทิ การไม่แทรกแซงกิจการภายในการเคารพในอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี หลักฉันทามติ Consensus กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)

  12. นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันที่แถลงต่อรัฐสภานโยบายของรัฐบาลปัจจุบันที่แถลงต่อรัฐสภา “นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนใน ปี 2558 อย่างสมบูรณ์ โดยสร้างความพร้อมและความเข้มแข็ง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และการเมืองและความมั่นคง”

  13. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 13

  14. ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 เสาหลัก • ประชาคมการเมืองและความมั่นคง • (ASEAN Political-Security Community: APSC) • 2.ประชาคมเศรษฐกิจ • (ASEAN Economic Community: AEC) • ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม • (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)

  15. มีกติกาและการพัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐานร่วมกัน โดยอาศัยหลักการ 1) การไม่แทรกแซงกิจการภายใน 2) ส่งเสริมค่านิยมของหารไปสู่การเป็นประชาคม (Community values) มีเอกภาพ สงบสุข แข็งแกร่ง และรับผิดชอบแก้ไข ปัญหาความมั่นคงร่วมกัน ภูมิภาคที่มีพลวัตร มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก และคงความเป็นศูนย์กลางและบทบาทของอาเซียน เป้าหมายประชาคมการเมืองและความมั่นคง

  16. กลไกการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกลไกการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ • สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) • สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ) • การประชุมว่าอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum - ARF) • แผนงานการสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคง(APSC Blueprint) • การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit-EAS)

  17. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ส่งเสริมสันติภาพ ความสงบสุขและความมั่นคง ทำอย่างไรให้ประชาชนและประเทศสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติ การแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี ความร่วมมือด้านการพัฒนาทางการเมือง การส่งเสริมธรรมาภิบาล การป้องกันการทุจริต การส่งเสริมประชาธิปไตย การจัดการกับปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ (การลักลอบค้ายาเสพติด การค้าสตรีและเด็ก โจรสลัด การลักลอบขนอาวุธ การฟอกเงิน การก่อการร้าย อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์) ประเด็นคาบเกี่ยว เช่น ภัยพิบัติ/ความร่วมมือระหว่างฝ่ายพลเรือนกับ กลาโหม ปัญหาโรคระบาด สิ่งแวดล้อม

  18. พัฒนาการล่าสุดของประเด็นสำคัญใน APSC • สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone-SEANWFZ) • สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) • ความร่วมมือด้านยาเสพติด • อาชญากรรมข้ามชาติ/ผลกระทบในเชิงลบจากการเชื่อมโยง • ความมั่นคงทางทะเล • สิทธิมนุษยชน

  19. พัฒนาการล่าสุดของประเด็นสำคัญใน APSC • การจัดตั้งคณะกรรมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Commission on Human Rights) • การยกร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Declaration on Human Rights) • การจัดตั้งสถาบันอาเซียนว่าด้วยสันติภาพและความสมานฉันท์ (ASEAN Institute on Peace and Reconciliation)

  20. สถาปัตยกรรมในภูมิภาคอาเซียนRegional Architecture of ASEAN ARF EAS/ ADMM-Plus ASEAN 20

  21. ประเด็นสำคัญระหว่างอาเซียน กับ ARF ลักลอบค้ามนุษย์ การก่อการร้ายทางชีวภาพ ลักลอบค้าอาวุธ ยาเสพติด อาชญากรรมเศรษฐกิจ อาชญากรรมไซเบอร์ อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง โจรสลัด การก่อการร้าย การฟอกเงิน อาเซียน ARF

  22. การประสานงานระหว่างฝ่ายพลเรือนกับทหารการประสานงานระหว่างฝ่ายพลเรือนกับทหาร ASEAN Regional Forum (ARF) ASEAN Defense Ministers’ Meeting (ADMM) Plus • 26 Member States+ 1 Regional Organisation • Priorities • Confidence building, and preventive Diplomacy (ISG CBM and PD) • Disaster Management (ISM DR) • Counter Terrorism and Tranational Crimes (ISM CTTC) • Maritime Security (ISM MS) • Nuclear Proliferation and Disarmament (ISM NPD) • 18 Member States • Priorities • Disaster Management (HADR • Peacekeeping Operations (PKO) • Counter-Terrorism (CT) • Maritime Security (MS) • Military Medicine

  23. กรอบการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนที่เกี่ยวข้องกรอบการประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียนที่เกี่ยวข้อง • ASEAN Foreign Ministers Meeting (AMM) • Commission on the Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ Commission) • ASEAN Defense Ministers Meeting (ADMM) • ASEAN Law Ministers Meeting (ALAWMM) • ASEAN Ministerial Meeting on Transnational Crime (AMMTC) • ASEAN Regional Forum (ARF)

  24. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน Master Plan on ASEAN Connectivity • ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน • คมนาคม • เทคโนโลยีสารสนเทศ • พลังงาน • ความเชื่อมโยงด้านกฎระเบียบ • เปิดเสรีและอำนวยความสะดวกทางการค้า • เปิดเสรีและอำนวยความสะดวกในการบริการและการลงทุน • ความตกลง/ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน • ความตกลงการขนส่งในภูมิภาค • พิธีการในการข้ามพรมแดน • โครงการเสริมสร้างศักยภาพ • ความเชื่อมโยงด้านประชาชน • การศึกษาและวัฒนธรรม • การท่องเที่ยว

  25. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ประชาคม การเมืองและความมั่นคง อาเซียน(APSC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) Connectivity

  26. ความสัมพันธ์กับภายนอกภูมิภาคความสัมพันธ์กับภายนอกภูมิภาค U.S.A. Australia Canada Russia New Zealand ASEAN China Republic of Korea E.U. Japan India

  27. ในภาพรวมของอาเซียน ต้องการเน้นให้ ประชาคมอาเซียนให้มีประสิทธิภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง และมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง อาเซียนคงความเป็นศูนย์กลางในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก การส่งเสริมบทบาทอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

  28. ประเด็นท้าทายอาเซียน

  29. บทบาทของไทยในด้านการเมืองและความมั่นคงบทบาทของไทยในด้านการเมืองและความมั่นคง เร่งรัดการจัดทำกฏบัตรอาเซียน ผลักดันการจัดตั้ง AICHR และร่วมมือกับภาคประชาสังคม (CSO) ยกร่าง APSC Blueprint ผลักดันความร่วมมือในกรอบกลาโหมเรื่องภัยพิบัติ ส่งเสริมความร่วมมือในกรอบอาชญากรรมข้ามชาติ ให้ความสำคัญมีบทบาทนำพัฒนากรอบ ARF เร่งรัดให้ประเทศครอบครอบอาวุธนิวเคลียร์รับรอง SEANWFZ ผลักดันให้มีการเข้าร่วม TAC

  30. กลไกระดับอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council: ACC) คณะมนตรีประชาคม การเมืองและความมั่นคง อาเซียน (ASEAN Political-Security Community Council) คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Council) คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Council) การประชุมรมต./จนท.อาวุโสอาเซียน เฉพาะด้าน เช่น ASEAN Law Ministers’ Meeting การประชุม รมต./จนท.อาวุโสอาเซียน เฉพาะด้าน เช่น Meeting of the ASEAN Tourism Ministers การประชุม รมต./จนท.อาวุโสอาเซียนเฉพาะด้าน เช่น ASEAN Ministers Meetingon Social Welfare and Development คณะกรรมการประสานงานการเชื่อมโยงกันในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Connectivity Coordinating Committee: ACCC)

  31. กลไกระดับประเทศ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ คณะกรรมการดำเนินการเพื่อจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (กต.) คณะอนุกรรมการดำเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (พณ.) คณะกรรมการสำหรับคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (พม.) คณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (กต.) คณะอนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์ประชาคมอาเซียน (ปชส.)

  32. การดำเนินการระดับประเทศการดำเนินการระดับประเทศ • แผนงานแห่งชาติสำหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ • ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ แผนงานระดับกระทรวง อาทิ แผนงานของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

  33. การเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน

  34. ภาคประชาชนและภาคการศึกษาภาคประชาชนและภาคการศึกษา สร้าง “คนไทยสำหรับโลกอาเซียน” • ทักษะภาษา - อังกฤษภาษาประเทศสมาชิกอาเซียน • รู้จัก เข้าใจ และเป็นมิตรกับประเทศเพื่อนบ้านอาเซียน ลดความหวาดระแวง สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ • พัฒนาการศึกษา ให้ตอบสนองตลาดแรงงาน (พัฒนาและปรับทัศนคติต่อการเรียนในสายอาชีพ) • ศึกษาข้อมูลของประเทศสมาชิกอาเซียน รู้เขารู้เรา จุดแข็ง/จุดอ่อน • การเปิดโลกทัศน์ การเชื่อมโยง ทัศนคติ ความรอบรู้

  35. สรุป MODERNISATION MULTIDISCIPLINARY MOTIVATION MANAGEMENT

  36. www.mfa.go.th/asean www.dtn.moc.go.th(ศูนย์ข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) www.aseansec.org www.southeastasia.org www.aseanwatch.org asean01@mfa.go.th และ รายการวิทยุ “เราคืออาเซียน”AM 1575 Khz วิทยุสราญรมย์ ทุกวันศุกร์ 06.30 – 07.00 น เว็บไซต์เกี่ยวกับอาเซียน

  37. Q & A www.mfa.go.th/asean asean01@mfa.go.th รายการวิทยุ “เราคืออาเซียน” AM 1575 Khz วิทยุสราญรมย์ ทุกวันศุกร์ 06.30 – 07.00 น. One Vision One Identity One Community

  38. Kob jai Terima kasih Aakoon Thank you Kob khun Kyeizu tin ba de ขอบคุณ Cam on Salamat One Vision One Identity One Community

More Related