1 / 136

วัยรุ่น

วัยรุ่น. นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ. นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว. การประมาณการประชากรวัยรุ่น(พันคน). กลุ่มอายุ 2553 2554 2555 2556

barton
Download Presentation

วัยรุ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัยรุ่น นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  2. การประมาณการประชากรวัยรุ่น(พันคน)การประมาณการประชากรวัยรุ่น(พันคน) กลุ่มอายุ 2553 2554 2555 2556 10-14 2,334 2,320 2,323 2,337 15-19 2,552 2,518 2,467 2,409 นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  3. ธรรมชาติของวัยรุ่น 1. วู่วามหุนหัน(ถูกใจมาก) 2. ต่อต้านดื้อดึง(กฎเกณฑ์ คำสั่ง คำสอน) 3. รสนิยมซ้ำซาก(เสพติด อาหาร/เสื้อผ้า/กิจกรรม) 4. หงุดหงิด งุ่นง่าน(อารมณ์แปรปรวน) 5. ปิดบังพ่อแม่(มีโลกส่วนตัว) 6. เพื่อนเป็นที่พึ่ง(ความคิด อารมณ์ การเลือก) 7. ชอบเสี่ยงทุกรูปแบบ(ชีวิต อนาคต) 8. อดหลับอดนอน(วงจรการนอนเปลี่ยน) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  4. เป้าหมาย ดูแลความสุขและความปลอดภัยโดยมีหน้าที่หลัก 2 ประการ 1.การแยกคนไข้ออกจากคนปรกติเพราะการดูแล ช่วยเหลือจะทำได้ตรงกับสาเหตุของปัญหา 2. การแยกคนไข้ออกจากคนเลวเพื่อให้ความเป็นธรรม กับผู้ป่วยทางจิตที่กระทำความผิดทางกฎหมาย นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  5. สาเหตุแห่งการกระทำความผิดสาเหตุแห่งการกระทำความผิด 1. ความชุกของปัญหา 2. การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เช่น โรคทางจิตเวช สาร เสพติด อารมณ์วู่วาม 3. รูปแบบการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม เช่น ใช้อารมณ์รุนแรง ดุด่าหยาบคาย ลงโทษรุนแรง บังคับ เผด็จการ 4. ระดับสติปัญญาทึบหรืออ่อน นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  6. 5. การพัฒนาเรื่อง EQ ด้านดี เช่น การควบคุมตนเอง 6. การใช้สารเสพติดที่มีผลเรื่องสมองติดยา 7. โรคทางสมองและโรคทางจิตเวช เช่น สมาธิสั้น ซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน บาดแผลทางใจ 8. เหตุการณ์สะเทือนใจตั้งแต่วัยเด็ก บาดแผลทางใจ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  7. นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1

  8. นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  9. นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  10. พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชน(USA)พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชน(USA) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  11. เรื่องเครียดในชีวิตKenneth S Kendler et.al.(1999,2003,2004) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  12. โรคซึมเศร้าในวัยรุ่น - ความชุกตลอดชีพ(Lifetime prevalence) 6% - เป็นสาเหตุการตายของเด็ก/วัยรุ่น อันดับ 3 นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  13. อารมณ์เศร้าในเด็กไทย (สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติและโรงพยาบาลรามาธิบดี) พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2544 (10-17ปี) (10-15ปี) (10-19ปี) อารมณ์ซึมเศร้า40% 36% 50% ชนิดรุนแรง 13% 14% 22% เคยคิดฆ่าตัวตาย - 45% 20% นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  14. ลักษณะเฉพาะของซึมเศร้าในวัยรุ่นลักษณะเฉพาะของซึมเศร้าในวัยรุ่น 1. เรื้อรัง ป่วยซ้ำสูง 2. พัฒนาการทางอารมณ์ ความคิด สติปัญญาช้า 3. บกพร่องด้าน การเรียน สังคม และครอบครัว 4. มีแนวโน้มเสพสารเสพติดและตั้งครรภ์ 5. ถ้ายิ่งเริ่มป่วยตอนอายุน้อย ความเสื่อมด้านสังคม อาชีพ คุณภาพชีวิตยิ่งมาก และมีมุมมองต่อตนเอง/ชีวิตในทางลบ 6. โอกาสป่วยในวัยผู้ใหญ่ด้วยโรคซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน เสพสารเสพติด ฆ่าตัวตาย สูงขึ้น นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  15. อาการซึมเศร้าในวัยรุ่นอาการซึมเศร้าในวัยรุ่น 1. หงุดหงิดรุนแรง(Excessive irritability) ก้าวร้าว(Aggression) 2.การกิน การนอนเปลี่ยนไป(อาจลดหรือเพิ่ม) 3. การเรียนแย่ลง การสังคมลดลง แยกตัว 4. ไม่มีความสุข (Anhedonia) ไม่มีชีวิตชีวา(Reduce energy) 5.หมดความสนใจ/ความสุขในกิจกรรมที่เคยชอบ 6. มีอาการทางกาย(somatic symptoms) 7. หมดหวัง คิดอยากตาย นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  16. สติปัญญาวัยรุ่น(2546) IQ เด็ก อายุ 13-18 ปี 86.72+/- 13.93 59% อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำ 27% อยู่ในเกณฑ์ปกติ 5% อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูง นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  17. Based on the research of Professor Roger Sperry of the University of California การวิเคราะห์ จังหวะ คำ/ภาษา ระยะทาง เหตุผล องค์รวม เส้น รายการ ขนาด จำนวน ฝันกลางวัน ลำดับ จินตนาการ ขวา ซ้าย นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  18. สมองสองซีก สมองคนแบ่งเป็นซีกซ้ายและขวา ซึ่งต้องทำงานร่วมกัน แต่มีความถนัดต่างกัน สมองซีกซ้าย เก่งเรื่อง รายละเอียด เหตุผล ภาษา สมองซีกขวา เก่งเรื่องความคิดแบบองค์รวม รวบยอด กลยุทธ์ แผนการ ทิศทาง รูปทรง 3 มิติ การเคลื่อนไหวที่แขนข้ามแนวกลางตัว นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  19. สมองซีกซ้ายและขวา นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  20. สมองกับจิตใจวัยรุ่น นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ เยาวชนและครอบครัว รพ. ตุลาการเฉลิมพระเกียรติ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  21. พัฒนาการระดับสติปัญญาพัฒนาการระดับสติปัญญา และวุฒิภาวะทางจิตสังคมตามอายุ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1

  22. ระดับความวู่วามลดลงตามอายุระดับความวู่วามลดลงตามอายุ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  23. ความไวการรับสัมผัสเพิ่มขึ้นช่วงวัยรุ่นตอนต้นแล้วค่อยๆลดลงตามอายุความไวการรับสัมผัสเพิ่มขึ้นช่วงวัยรุ่นตอนต้นแล้วค่อยๆลดลงตามอายุ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  24. การอยู่ในกลุ่มเพื่อน จะเพิ่มพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  25. Age at tobacco, alcohol, and cannabis dependence per DSM IV การเสพติดเป็นโรคพัฒนาการโรคหนึ่ง ที่เริ่มต้นในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่น 1.8% 1.8% TOBACCO CANNABIS 1.6% 1.6% ALCOHOL 1.4% 1.4% 1.2% 1.2% 1.0% 1.0% % in each age group who develop first-time dependence 0.8% 0.8% 0.6% 0.6% 0.4% 0.4% 0.2% 0.2% 0.0% 0.0% 5 10 15 21 25 30 35 40 45 50 55 60 65 5 10 15 21 25 30 35 40 45 50 55 60 65 Age นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว National Epidemiologic Survey on Alcohol and Related Conditions, 2003.

  26. ปัญหาทางเพศเรื่องการแข็งตัวเท่านั้นที่เพิ่มตามอายุปัญหาทางเพศเรื่องการแข็งตัวเท่านั้นที่เพิ่มตามอายุ คความชุก ปัญหาการแข็งตัว ไม่มีอารมณ์เพศ ปัญหาหลั่งเร็ว นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  27. Erectile dysfunction is never 'normal', however it does become more common and more severe as men age. One Australian study reported the rate of erectile dysfunction in different age groups: นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  28. พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชน(USA)พฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชน(USA) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  29. ระดับการควบคุมตนเองตามอายุระดับการควบคุมตนเองตามอายุ ความแม่นยำ 0.5 1 อายุ(ปี) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  30. ความไวในการตอบสนองสูงขึ้นเมื่อรางวัลใหญ่ขึ้นความไวในการตอบสนองสูงขึ้นเมื่อรางวัลใหญ่ขึ้น ความไวในการตอบสนอง ขนาดรางวัล นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  31. ความแตกต่างรายบุคคล ความแม่นยำ อายุ(ปี) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  32. การควบคุมตนเองจากการเลือกตอบสนองต่อรางวัลในช่วงวัยรุ่นการควบคุมตนเองจากการเลือกตอบสนองต่อรางวัลในช่วงวัยรุ่น ความแม่นยำ อายุ(ปี) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  33. วัยรุ่นไวต่ออารมณ์ทางลบของบุคคลรอบข้างมากกว่าเด็ก&ผู้ใหญ่วัยรุ่นไวต่ออารมณ์ทางลบของบุคคลรอบข้างมากกว่าเด็ก&ผู้ใหญ่ C= Child T= teen A= adult นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  34. ความแตกต่างระหว่างเพศหญิง-ชายความแตกต่างระหว่างเพศหญิง-ชาย นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  35. EQ กับพฤติกรรมทางเพศในวัยรุ่น นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร สถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  36. วัตถุประสงค์ของโครงการฯวัตถุประสงค์ของโครงการฯ 1. ผลัดผ่อนการเริ่มมีพฤติกรรมทางเพศให้ช้าลง 2. ลดความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์ 3. ลดจำนวนคู่นอน เพิ่มพฤติกรรมคู่นอนเดียว 4. เพิ่มการใช้ความสม่ำเสมอ ประสิทธิภาพของการใช้ ถุงยางและการคุมกำเนิด 5. ลดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่มีการป้องกัน นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  37. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 1. เพศสัมพันธ์ก่อน 16 ปี(การละเมิดทางเพศ) - อายุน้อย - บกพร่องทางสติปัญญา 2. เพศสัมพันธ์ตั้งแต่ 16 ปีขึ้นไป 2.1ขาดความภาคภูมิใจ(Low self-esteem) - การเลี้ยงดูผิดๆ - ความอบอุ่นในครอบครัว - การเลียนแบบกลุ่มเพื่อน นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  38. 2.2วู่วาม สมาธิสั้น/อารมณ์แปรปรวน - พันธุกรรม - การเลี้ยงดู/EQ - วัยรุ่น 2.3 สิ่งแวดล้อมที่เสี่ยง - พ่อแม่ดูแลไม่ทั่วถึง - เสพสิ่งมึนเมา ขาดสติ - สื่อกระตุ้นรุนแรง 2.4 บกพร่องทางสติปัญญา/พัฒนาการ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  39. พฤติกรรมทางเพศที่พึงประสงค์ที่ หญิง> ชาย 1. การมีเพศสัมพันธ์ - วัยรุ่นหญิงมัธยมต้นเคยมีเพศสัมพันธ์แล้วถึง 1 ใน 3 - วัยรุ่นชายมีเพศสัมพันธ์ >วัยรุ่นหญิง 2 เท่า(71.9%,36.4 %) 2. การใช้สื่อเช่น internet เพื่อวัตถุประสงค์ทางเพศ - วัยรุ่นหญิงใช้สื่อ แล้ว ถึง 1 ใน 7 - วัยรุ่นหญิงใช้สื่อ < วัยรุ่นชาย 2+ เท่า (40.6%,16.4%) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  40. 3. กิจกรรมทางสังคมที่เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ - วัยรุ่นหญิงมีกิจกรรมแล้วกว่าครึ่งหนึ่งทางสังคม - วัยรุ่นหญิงมีกิจกรรม<วัยรุ่นชาย 1+ เท่า(59.2 %,77.3% ) 4. ผลของการมีเพศสัมพันธ์ - วัยรุ่นหญิงมีเพศสัมพันธ์จนเกิดผลกระทบแล้ว ถึง 1 ใน 5 - วัยรุ่นหญิงเกิดผลกระทบ<วัยรุ่นชาย1+ เท่า(30.2%,18.5%) 5. พฤติกรรมทางเพศที่เบี่ยงเบน - วัยรุ่นหญิงเบี่ยงเบนทางเพศ 18.1% - วัยรุ่นหญิงเบี่ยงเบน<วัยรุ่นชาย 2 +เท่า(41.2% ,18.1 %) นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  41. พฤติกรรมทางเพศที่พึงประสงค์ที่ ชาย>หญิง การสำเร็จความใคร่ - วัยรุ่นหญิงสำเร็จความใคร่แล้ว 8.7% - วัยรุ่นชายสำเร็จความใคร่ 40% - วัยรุ่นชายสำเร็จความใคร่ >วัยรุ่นหญิง 4+ เท่า(40.%,8.7%) - วัยรุ่นหญิงมีเพศสัมพันธ์<กับวัยรุ่นชายเพราะ - ไม่รู้วิธีสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง - อายที่จะสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง - อารมณ์ทางเพศที่เกิดตามธรรมชาติไม่ถูกกำจัด - เมื่อวัยรุ่นหญิงเกิดอารมณ์เพศต้องการใกล้ชิด โดยคิด เองว่า“คงไม่มีปัญหา”และมีเพศสัมพันธ์ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  42. ความฉลาดทางอารมณ์ 1. EQ มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศทุกด้าน/องค์ประกอบย่อย ความเข้มแข็งทางจิตใจมีผลทำให้มีพฤติกรรมทางเพศที่ เหมาะสมหรือไม่เหมาะสม 2. องค์ประกอบEQ ที่ควรพัฒนาเพื่อให้พฤติกรรมทางเพศ เหมาะสม ได้แก่ ด้านดี การควบคุมตนเอง ความรับผิดชอบ ด้านเก่ง การตัดสินใจแก้ปัญหา ด้านสุข ความภาคภูมิใจในตนเอง นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  43. การควบคุมตนเอง 1. ความรู้สึกทางเพศเกิดขึ้นตามธรรมชาติของวัยรุ่นห้ามไม่ได้ 2. รู้วิธีเบี่ยงเบนเพื่อลดความถี่ได้ 3. เมื่อถูกกระตุ้นให้เกิดอารมณ์มักรุนแรง ควบคุมได้ยาก 4. รู้วิธีระบายออกอย่างเหมาะสมเพื่อลดผลกระทบ ปลอดภัย เหมาะสม นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  44. ความรับผิดชอบ 1. รับผิดชอบผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์โดยลำพัง และไม่ได้รับความ ช่วยเหลือจากคนอื่นนั้นทำไม่ได้ 2. ถ้ามีผลกระทบขึ้น แก้ไขเองไม่ได้ เก็บความลับไม่ได้ 3. ถ้าต้องเปิดเผยความจริง สังคมไม่ยอมรับ ถูกตำหนิ ลงโทษ 4. ทางที่ง่าย คือ ไม่ไปเสี่ยงมีเพศสัมพันธ์ เพียงเพราะอยากลอง ถูกท้า ทาย หรือกลัวคนรักโกรธ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  45. การตัดสินใจแก้ปัญหา 1. เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ เช่น ถูกลวนลาม ถูกท้าทายให้พิสูจน์รักด้วยการร่วมเพศ 2. การตัดสินใจที่ดี ต้องมีสติเป็นตัวของตัวเอง คิดถึงผลเสียที่จะตามมา 3. ประเมินศักยภาพว่ารับมือกับผลเสียนั้นได้หรือไม่ 4. รู้วิธีรับมือกับผลเสียนั้นได้อย่างเหมาะสม นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  46. ความภาคภูมิใจ 1. จำเป็นต่อการตัดสินใจแบบมีสติ ยับยั้งตนเองเป็นตรวจสอบผลดีผลเสีย ก่อนกระทำ เป็นตัวของตัวเอง 2. เมื่อรู้ว่ามีผลเสียตามมา ปฏิเสธได้โดยไม่ต้องเกรงใจ/กลัวคนรักโกรธ 3. มั่นใจในคุณค่าของตนเอง ไม่ตกเป็นเหยื่อการท้าทาย ไม่พิสูจน์ตนเอง ด้วยวิธีที่เสี่ยง 4. มีเป้าหมายที่ใฝ่ฝัน และมุ่งมั่นไปให้ถึงฝันนั้น นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  47. ข้อเสนอแนะ วัยรุ่นหญิงมีเพศสัมพันธ์ไปแล้วถึง 1 ใน 3 1. การมีเพศสัมพันธ์ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะช่วงเทศกาล 2. เทศกาลเพิ่มโอกาสมี/ลองมีเพศสัมพันธ์มากขึ้นทั้งในวัยรุ่นที่เคย/ไม่เคย มีเพศสัมพันธ์ 3. จึงจำเป็นต้องสังเกตพฤติกรรมลูกหลานโดยประเมินจากความเสี่ยงด้าน พฤติกรรมทางเพศ และด้าน EQ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  48. แนวทางป้องกัน ผู้ปกครองควรพูดคุยกับวัยรุ่นเกี่ยวกับเรื่องเพศอย่างตรงไปตรงมา ถ้าไม่กล้าพูดคุยซักถามกับวัยรุ่นโดยตรง ควรขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญของกรมสุขภาพจิตต่อไป 1. ความสัมพันธ์ของวัยรุ่นไปถึงไหน - ชอบมากน้อยแค่ไหน - ลึกซึ้งแค่ไหน - กล้าขัดใจหรือทำให้ไม่พอใจได้หรือไม่ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

  49. 2. ให้วัยรุ่นประเมินเองว่า - กิจกรรมที่จะไป หลีกเลี่ยงไม่ไปได้หรือไม่ - กิจกรรมนั้นอยู่กันสองต่อสองในที่ลับตาหรือไม่ - ถูกเนื้อต้องตัวกันหรือไม่ ถ้ามีแก้ไขอย่างไร - ถ้าถูกขอมีเพศสัมพันธ์ วัยรุ่นจะตัดสินใจอย่างไร - ถ้าลงเอยด้วยการมีเพศสัมพันธ์ ป้องกันอย่างไร - ควบคุมตนเองไม่ให้เกิดความเสี่ยงได้หรือไม่ อย่างไร - รับผิดชอบปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างไร เช่น ติดเชื้อ ตั้งครรภ์ นายแพทย์ประยุกต์ เสรีเสถียร lสถาบันนิติจิตเวชเด็ก เยาวชนและครอบครัว

More Related