1 / 36

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย - ญี่ปุ่น ) ถนนพัฒนาการ 18

Thailan d Quality Prize. ประเภทผลงาน เพื่อรับรางวัล ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย - ญี่ปุ่น ) ถนนพัฒนาการ 18. Manufacturing. Business for Service. ประเภทกิจกรรม QCC. Service. Support Service. Office Service. Task Achieving. ปี 2555. New Born QCC Prize.

jubal
Download Presentation

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย - ญี่ปุ่น ) ถนนพัฒนาการ 18

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Thailand Quality Prize ประเภทผลงาน เพื่อรับรางวัล ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น ) ถนนพัฒนาการ 18

  2. Manufacturing Business for Service ประเภทกิจกรรม QCC Service Support Service Office Service Task Achieving ปี 2555

  3. New Born QCC Prize กลุ่ม QCที่อยู่ในหน่วยงานผลิตหลัก หรือกระบวนการหลักที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ของสถานประกอบการนั้นโดยตรง Junior QCC Prize Manufacturing QCC Prize

  4. Manufacturing Business for Service Task Achieving (TA) Support Service Office Service

  5. ระดับรางวัล รางวัล ประเภท

  6. ระดับรางวัล

  7. Kaizen Suggestion System การปรับปรุงงานที่ไม่มีประดิษฐ เพื่อปรับปรุงกระบวนการให้อัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ หรือหลักการทางกลศาสตร์ Automation Kaizen การปรับปรุงหรือประดิษฐ์ให้เป็นระบบอัตโตมัติหรือกึ่งอัตโตมัติโดยใช้ไฟฟ้า อิเลคทรอนิคส์ ไฮดรอลิก นิวแมติกเข้ามาเกี่ยวข้อง

  8. Karakuri Kaizen (Un plug) การปรับปรุงหรือ ประดิษฐ์ เพื่อปรับปรุงกระบวนการ โดยใช้หลักกลศาสตร์ เช่น เฟือง สปริง คาน แรงลม ล้อ เพลา คานงัด แสงแดดหรืออุปกรณ์ที่มีการสะสมพลังงาน ประเภทน้ำ ลม มูลสัตว์หรืออื่นๆ แทนพลังงานหรือสิ่งประดิษฐกึ่งอัตโนมัติที่ไม่ใช้พลังงานจากไฟฟ้า

  9. ของเหลือจากสะสางมาปรับปรุงใหม่ Recycle /Refill/Reduce/Re product/Repair

  10. ความหมายของ “ ไคเซ็น ” = การเปลี่ยนแปลง ไค (Kai) 改 善 = ที่ดีขึ้น เซ็น (Zen) MR. TOZAWA BUNJI คือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง “Continuous improvement”

  11. Kaizen Suggestion System การปรับปรุงงานที่ไม่มีประดิษฐ เพื่อปรับปรุงกระบวนการให้อัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ หรือหลักการทางกลศาสตร์

  12. กระบวนการทำความสะอาด ก่อนKaizen หลัง Kaizen • ใช้เวลาทำความสะอาดพื้นที่นาน • ฝุ่นฟุ้งกระจายไปยังหน่วยงานข้างเคียง • ตกหล่นลงรางระบายน้ำทิ้ง สร้างปัญหาให้กับปั๊มน้ำของระบบบำบัดน้ำเสีย • ลดเวลาทำความสะอาดจาก 3 นาที เหลือ 1 นาที • ลดการอุดตันของปั๊มน้ำของระบบบำบัดน้ำเสีย ข้อมูลอ้างอิง: การประกวด Kaizen Suggestion System Award ครั้งที่ 1 ,บริษัท เซอร์กิตอินดัสตรีส์ จำกัด

  13. คฑาตรวจจับไฟฟ้ารั่ว ม.บูรพา ท่อน้ำตราช้าง

  14. Karakuri Kaizen (Un plug) การปรับปรุงหรือการประดิษฐ์ เพื่อปรับปรุงกระบวนการ โดยใช้หลักกลศาสตร์ เช่น เฟือง สปริง คาน แรงลม ล้อ เพลา คานงัด แสงแดดหรืออุปกรณ์ที่มีการสะสมพลังงาน ประเภทน้ำแทนพลังงาน มูลสัตว์ หรือสิ่งประดิษฐกึ่งอัตโนมัติ

  15. เครื่องมือตรวจจับถ่านลิกไนต์เครื่องมือตรวจจับถ่านลิกไนต์

  16. การบริหารกิจกรรมกลุ่ม กฝผ. ข้อเด่น • ระบบบริหารมีความชัดเจนด้านวิสัยทัศน์ นโยบาย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย • ความชัดเจนใน QC Story 90% เป็นรูปธรรม มีตัวเลข ข้อมูล สนับสนุน กราฟ ข้อมูล • เลือกหัวข้อเรื่องส่วนใหญ่มีเหตุผลสนับสนุนเช่น ปัญหาอดีต นโยบายบริหารของหน่วยงาน KPI หรือปัญหาที่เป็นเรื่องสืบเนื่องที่มุ่งมั่นจะดำเนินการให้ลดปัญหากระทั่งสิ้นสุด • มูลเหตุจูงใจส่วนใหญ่ของผลงานจะชัดเจน มองตนเอง หน่วยงาน สังคม ผลทางตรง อ้อม

  17. ข้อปรับปรุง ระบบความต้องการในแต่ละปีให้เห็นภาพดำเนินการ และสามารถสานต่อไปทุกผู้บริหาร กลุ่มผลงานบางกลุ่มจะมีจุดอ่อน โดยเฉพาะกลุ่มด้านสนับสนุน เรื่องส่วนใหญ่สามารถแก้ไขพื้นฐานเช่น 5ส หรือสอบถามบุคคลอื่นก็เสร็จสิ้น เลือกหัวข้อเรื่องบางเรื่องก็ซับซ้อนและบางครั้งเลือกเรื่องหนึ่งปฏิบัติการอีกเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะเรื่องขึ้นต้นเป็นเรื่อง “เพิ่มหรือปรับปรุง” มูลเหตุจูงใจกว้างในบ้างผลงานและเป็นจุดอ่อนเมื่อปฏิบัติกลับว่าระยะเวลาเท่ากับปกติที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพียง 2-3 ข้อ

  18. สำรวจปัจจุบันบางกลุ่มครบถ้วนมีตัวเลขหรือเปอร์เซนต์แสดงด้วยกราฟ หรือนโยบาย • ตั้งเป้าหมายแหล่งที่มาอ้างอิง • แผนงานดำเนินงานแก้ไขหรือปรับปรุงค่อนข้างชัดเจน มีการอธิบายมอบหมายงานให้กับทีมงานตามความสามารถหรือ • ผู้รับผิดชอบจะสามารถปฏิบัติได้ตามงาน • วิเคราะห์หาสาเหตุ มีเครื่องมือระดับขั้นสูงประกอบมากขึ้น เช่น scatter/เรดาห์ • พิสูจน์สาเหตุ แก้ไข ปรับปรุงมีความชัดเจนหากเทียบกับผลงานต่างๆ และสามารถคิดค้นแนวทางแก้ไขใหม่ เพื่อให้เกิดผลดำเนินการ

  19. สำรวจบางครั้งมากเกินไป ทั้งที่เป็นนโยบายหรือมีเก็บข้อมูลครั้งที่ผ่านมา เรื่องที่ 2 • ตั้งเป้าหมายบางผลงานมากเกินไป • แผนงานส่วนใหญ่ตรง แต่บางผลงานมีการเลื่อนแต่ไม่สามารถแสดงปัญหา สาเหตุ • ผู้รับผิดชอบมีความสามารถเกินนจริง(บางผลงาน • วิเคราะห์หาสาเหตุหรือพิสูจน์จะมีเครื่องมือมากชนิดกระทั่งจุดหลักขาดหายไป • พิสูจน์สาเหตุ แก้ไขหรือจุดปรับปรุงบางผลงานก็มากเกินสมควร โดยเฉพาะช่วงแก้ไขจะสร้างเครื่องมือขึ้นมาใหม่ ทำให้เกิดปัญหาจะกลายเป็น Kaizen หรือคะแนนช่วงนี้จะน้อย จุดปรับปรุง

  20. การบริหารกิจกรรมกลุ่ม กฝผ. จุดเด่น • นำเครื่องมือพิสูจน์สาเหตุ เพื่อแก้ไขปัญหาด้านเทคนิค อ้างอิงมากกว่าอดีต • เนื้อหาการแก้ไขปัญหาได้การพิสูจน์หรือยืนยันจากกลุ่มผลงาน ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงบุคคลผู้เชี่ยวชาญ • งบประมาณบางส่วนได้รับการอนุมัติจากระดับบริหารด้านสร้าง ซ่อม พัฒนาหรือการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ • แบบฟอร์มการประชุมและรายละเอียดของการดำเนินงานด้านทีมงานมีการจัดทำเป็นลายลักษณ์หรืออักษร แยกกลุ่ม ปี และติดตามที่ระบบสารสนเทศ • มาตรฐานใหม่จะเป็นผลงานที่อยู่ในกระบวนการทำงาน และมีการติดตามผลอย่างต่อเนื่องเมื่อมีเหตุการณ์ใดผิดปกติจากมตรฐานจะแก้ไขทันที • เรียนรู้ร่วมกันระหว่างสมาชิกกลุ่มและกระจายผลไปสู่กลุ่มผลงานอื่นด้วย Intranet • สรุปเรื่องราวทั้งหมดมีแสดงด้วยกราฟ ตัวเลขเห็นความชัดเจนทั้งผลทางตรง ทางอ้อม • มีการแสดงปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไขของกลุ่มกับทีมงาน รวมถึงวัดผลความรู้ที่ได้รับจากผลงานนั้น • ผลงานเรื่องต่อไป จะมีข้อมูลสนับสนุนจากแนวคิดวิเคราะห์เป็นตัวเลขหรือเปอร์เซนต์ให้เห็นความต่อเนื่องของ P-D-C-A

  21. จุดปรับปรุง • เครื่องมือพิสูจน์สาเหตุ เพื่อแก้ไขปัญหาบางผลงานมากเกินและทำความยุ่งยากในความเข้าใจ พิสูจน์สถานะมากเกิน • เนื้อหาการแก้ไขปัญหามักจะสรุปด้วยการสร้างเครื่องมือ ทำให้ผลงานเกิดการคาบเกี่ยวระหว่าง Kaizen และ QCC (ผลงานอาจจะต้องแก้ไขต้นเหตุแหล่งการเกิดจริงๆ หรืออาจจะแยกหรือปรับปรุงผลงานนำเสนอ ระหว่าง กฟผ. และ ส.ส.ท. หรือเวทีอื่น • แบบฟอร์มการประชุมและรายละเอียดของการดำเนินงานด้านทีมงานมีการจัดทำเป็นลายลักษณ์หรืออักษร แยกกลุ่ม ปี และติดตามที่ระบบสารสนเทศ แต่บางผลงานก็มากกระทั่งหายจากสาระที่ควรเก็บ • มาตรฐานจะมีบางผลงานไม่มีการป้องกับพลั้งเผลอ หากเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นหรือกระทบต่อจะเฝ้าระวังอย่างไร • ผลงานเรื่องต่อไปหรือเรื่องไม่สามารถปฏิบัติการได้ ควรมีการแจ้งกับกรรมการหรือหัวหน้าผู้ดูแลต่อเนื่อง หากสามารถแก้ไขเรื่องดังกล่าวได้ ควรให้ QCC เป็นเรื่องถัดไปเพื่อลดขั้นตอน สำรวจ คัดเลือก ฯลฯ และทำให้วงจรหมุนตาม QCC พันธุ์แท้ มากกว่าพันธุ์ทาง ยกเว้น นโยบายบริหารประเภทคอขาดบาดตายจริงๆ

More Related