1 / 78

การนำกรอบหลักสูตร ระดับท้องถิ่น สู่หลักสูตรสถานศึกษา ดร.ชาติ แจ่ม นุช

การนำกรอบหลักสูตร ระดับท้องถิ่น สู่หลักสูตรสถานศึกษา ดร.ชาติ แจ่ม นุช. วันที่ 27 มิถุนายน 2555 ณ หอประชุมพญาไท สพม. 1. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. คำถาม. ทำไม? คืออะไร? ประกอบด้วยอะไรบ้าง? เพื่ออะไร? ทำอย่างไร?

Download Presentation

การนำกรอบหลักสูตร ระดับท้องถิ่น สู่หลักสูตรสถานศึกษา ดร.ชาติ แจ่ม นุช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำกรอบหลักสูตร ระดับท้องถิ่น สู่หลักสูตรสถานศึกษา ดร.ชาติ แจ่มนุช วันที่ 27 มิถุนายน 2555 ณ หอประชุมพญาไท สพม.1

  2. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

  3. คำถาม • ทำไม? • คืออะไร? • ประกอบด้วยอะไรบ้าง? • เพื่ออะไร? • ทำอย่างไร? • ผลเป็นอย่างไร? • วันนี้ต้องการอะไร? • จะทำอะไรต่อไป?

  4. คำถาม • ทำไม? • คืออะไร? • ประกอบด้วยอะไรบ้าง?

  5. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการ

  6. การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. สพท. หลักสูตรแกนกลาง • วิสัยทัศน์/สมรรถนะฯ/คุณลักษณะฯ • มาตรฐานการเรียนรู้ • สาระการเรียนรู้แกนกลาง • - โครงสร้างหลักสูตร • - เกณฑ์การวัดผลประเมินผล กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป้าหมาย/ จุดเน้น การวัดประเมินผล ระดับท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น + + หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน ความต้องการของท้องถิ่น ส่วนที่สถานศึกษา เพิ่มเติม + แกนกลาง +

  7. คำถาม • เพื่ออะไร?

  8. เป้าหมาย / จุดเน้น จุดหมายปลายทางของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่เขตพื้นที่การศึกษากำหนดเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องนำไปพัฒนาผู้เรียน

  9. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น • เพื่อให้มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวของชุมชน ท้องถิ่นซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมในชีวิตจริงของตนเอง • เพื่อให้เกิดความรักผูกพันกับท้องถิ่น • เพื่อให้มีความภาคภูมิใจในบ้านเกิดเมืองนอน • เพื่อให้สามารถแก้ปัญหา พัฒนาชีวิตตนเอง พัฒนาอาชีพ ครอบครัวและสังคมของตนเอง

  10. คำถาม • ทำอย่างไร?

  11. การพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น หลักสูตรแกนกลาง ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สภาพปัญหา ความต้องการของท้องถิ่น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป้าหมาย / จุดเน้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การประเมินคุณภาพผู้เรียน นำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ / รับฟังความคิดเห็นผู้เกี่ยวข้อง ปรับปรุงพัฒนา นำเสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบ สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร วิจัย ติดตามประเมินผล

  12. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย/จุดเน้นของการพัฒนาผู้เรียนศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมาย/จุดเน้นของการพัฒนาผู้เรียน

  13. วิสัยทัศน์หลักสูตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็น พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

  14. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

  15. คุณลักษณะอันพึงประสงค์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ

  16. วิสัยทัศน์ประเทศไทย สู่ปี 2570 “คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรี บนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรมประชาธิปไตยและหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัยและมั่นคง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแข่งขันได้ในเวทีโลก สามารถอยู่ในประชาคมภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี” (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2551)

  17. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบเอ็ดพ.ศ. 2555-2559 วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”

  18. คำสำคัญในการพัฒนาคุณภาพคนไทย (2555-2559) • มีคุณธรรม • เรียนรู้ตลอดชีวิต • สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง (มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง) • รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

  19. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ. 2552 – 2561)

  20. วิสัยทัศน์การปฏิรูปการศึกษา (2552-2561) “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ”

  21. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 1. มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 2. มีความสามารถในการสื่อสาร

  22. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 3. มีความสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา และคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คำนึงถีงประโยชน์ส่วนรวม และสามารถทำงานเป็นกลุ่ม

  23. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 5. มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 6. มีจิตสำนึก และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย

  24. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 7. ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 8. ก้าวทันโลก 9. มีสุขภาพกายและใจสมบูรณ์

  25. ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลกผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก Smart Communicator เป็นเลิศวิชาการ สื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ร่วมกันรับผิดชอบสังคมโลก Thinker Global Citizenship ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ Innovator dukerangson@hotmail.com

  26. ผลการสังเคราะห์อัตลักษณ์ผู้เรียน สพม.1 • จำนวนโรงเรียน 67 โรง • จำนวนอัตลักษณ์ 67 อัตลักษณ์

  27. สรุปได้เป็น 9 กลุ่มคำสำคัญ 1. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (สุภาพบุรุษ, กุลสตรี, เป็นผู้นำ, มารยาทดี, มีสัมมาคารวะ, มีความรับผิดชอบ, มีวินัย, มีจิตสาธารณะ อื่นๆ) 2. มีคุณธรรม (คนดี, ประพฤติดี, วิถีพุทธ)

  28. สรุปได้เป็น 9 กลุ่มคำสำคัญ 3. เป็นเลิศทางวิชาการ (ตั้งใจเรียน, เรียนดี, ใฝ่หาความรู้, ความรู้ดี) 4. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (เทิดไท้องค์ราชัน, ใต้บารมี, พระราชดำริ) 5. รักความเป็นไทย (มีความเป็นไทย)

  29. สรุปได้เป็น 9 กลุ่มคำสำคัญ 6. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 7. มีทักษะทางภาษา 8. ก้าวสู่สากล (ทันสมัย) 9. ก้าวไกลเทคโนโลยี

  30. ตัวร่วมคำสำคัญ (Common Keywords) • ใฝ่เรียนรู้ (รักการอ่าน ศึกษาค้นคว้า เรียนรู้ตลอดชีวิต) • มีทักษะการคิด • สื่อสารได้หลายภาษา • มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (ดำเนินชีวิต/พัฒนาการทำงาน)

  31. ตัวร่วมคำสำคัญ (Common Keywords) • รักความเป็นไทย/ภูมิใจในความเป็นไทย • มีจิตสาธารณะ/เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม • มีความพอเพียง • มีคุณธรรม จริยธรรม • มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง

  32. สรุป เป้าหมาย/จุดเนัน ของสพม.1 เพื่อพัฒนาผู้เรียน คือ มีคุณธรรม น้อมนำความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งสู่สากล บนความพอเพียง

  33. การพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น หลักสูตรแกนกลาง ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สภาพปัญหา ความต้องการของท้องถิ่น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป้าหมาย / จุดเน้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การประเมินคุณภาพผู้เรียน นำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิ / รับฟังความคิดเห็นผู้เกี่ยวข้อง ปรับปรุงพัฒนา นำเสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบ สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร วิจัย ติดตามประเมินผล

  34. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น หมายถึง ขอบข่ายของเนื้อหาการเรียนรู้ท้องถิ่นที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาวิเคราะห์และกำหนดขึ้น เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามสภาพความพร้อม และความต้องการของสถานศึกษา

  35. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น เช่น ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การประกอบอาชีพ วิถีชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถานที่สำคัญ บุคคลสำคัญ สภาพปัญหา เหตุการณ์สำคัญ เป็นต้น

  36. คำถาม • ผลเป็นอย่างไร?

  37. ครุฑ ประกาศคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรื่อง กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ..................................................... อนุวัติ คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293/2551 สั่ง ณ วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 มีมติเห็นชอบประกาศใช้กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ดังรายละเอียดแนบท้าย จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 (รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ คุณารักษ์) ประธานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

  38. คำถาม • วันนี้ต้องการอะไร?

  39. วันนี้ต้องการอะไร? 1. เห็นภาพรวมเอกสาร “กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น”

  40. เอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ของ สพม.1 1. ความเป็นมาและความสำคัญของกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น (บทที่ 1)

  41. เอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ของ สพม.1 2. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น (บทที่ 2) 2.1เป้าหมายและจุดเน้น “มีคุณธรรม น้อมนำความเป็นไทย ใฝ่ใจเรียนรู้ มุ่งสู่สากล บนความพอเพียง”

  42. เป้าหมายมีไว้ ................... พุ่งชน

  43. เพื่อความเข้าใจร่วมกันเพื่อความเข้าใจร่วมกัน ได้นิยาม เป้าหมายแต่ละด้าน (มิติ) ไว้ในหน้า 3

  44. มุ่งสู่สากล หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะและคุณภาพได้มาตรฐานระดับโลก สามารถสื่อสารได้หลายภาษา มีทักษะในการคิด สามารถใช้เทคโนโลยีในการดำรงชีวิตและประกอบอาชีพ มีความรับผิดชอบในฐานะ พลโลก และสามารถดำรงชีวิตในยุค โลกาภิวัตน์ได้อย่างมีความสุข

  45. เอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ของ สพม.1 2. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น (บทที่ 2) 2.2สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กำหนดกรอบให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม ความพร้อม และความต้องการ

  46. 23 เขตปกครอง ดุสิต บางซื่อปทุมวัน ป้อมปราบศัตรูพ่าย พญาไท พระนคร ราชเทวี สัมพันธวงศ์ คลองสาน จอมทอง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ ธนบุรี บางกอกน้อยบางกอกใหญ่ บางขุนเทียน บางแค บางบอน บางพลัด ภาษีเจริญ ราษฎร์บูรณะ และหนองแขม

  47. กรอบ สภาพภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประวัติ ความเป็นมา สภาพเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ

  48. กรอบ ศาสนสถานสำคัญ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและภูมิปัญญา การปกครองส่วนท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร

  49. กรอบ สถานที่สำคัญ บุคคลสำคัญ เหตุการณ์สำคัญ การคมนาคมขนส่งที่สำคัญ คำขวัญ

  50. เอกสารกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ของ สพม.1 2. กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น (บทที่ 2) 2.3การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่น

More Related