1 / 53

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล. ศ. พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ ประธานกรรมการ บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จำกัด 3 กรกฎาคม 2555. หัวข้อการบรรยาย. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี/องค์กรธุรกิจ ทุนของบริษัท การก่อหนี้ ธุรกรรมต่าง ๆ ผลตอบแทนจากเงินลงทุน การคำนวณกำไรสุทธิ รายได้ และรายจ่ายต้องห้าม

rollo
Download Presentation

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีเงินได้นิติบุคคล ศ. พิเศษ กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ ประธานกรรมการ บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จำกัด 3 กรกฎาคม 2555

  2. หัวข้อการบรรยาย • ผู้มีหน้าที่เสียภาษี/องค์กรธุรกิจ • ทุนของบริษัท • การก่อหนี้ • ธุรกรรมต่าง ๆ • ผลตอบแทนจากเงินลงทุน • การคำนวณกำไรสุทธิ รายได้ และรายจ่ายต้องห้าม • กรณีศึกษา ภาษีเงินได้นิติบุคคล2

  3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี/องค์กรธุรกิจผู้มีหน้าที่เสียภาษี/องค์กรธุรกิจ ภาษีเงินได้นิติบุคคล3

  4. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี บริษัทจำกัด ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล บริษัทมหาชนจำกัด กิจการ/องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ ภาษี กิจการร่วมค้า (JV) นิติบุคคลต่างประเทศ มูลนิธิ/สมาคมที่มิใช่องค์กรสาธารณกุศล ตามประกาศ กท. คลัง ภาษีเงินได้นิติบุคคล4

  5. ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ • กองทุนรวม • มูลนิธิ/สมาคมตามประกาศ กท. คลัง • รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ • ธนาคารที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ ภาษีเงินได้นิติบุคคล5

  6. เงินปันผล /เงินส่วนแบ่งกำไร อัตราภาษีขององค์กรธุรกิจ ภาระภาษีขององค์กรธุรกิจและผู้ลงทุน กำไรจากการโอนหุ้น • หักภาษี ณ ที่จ่าย 10% • บุคคลธรรมดาได้เครดิตภาษีเงินปันผล • นิติบุคคลได้รับยกเว้นตาม 65 ทวิ (10) • นิติบุคคลต่างประเทศ 10% ม.70 • บุคคลธรรมดา อัตราก้าวหน้า 10-37% ยกเว้นกรณีขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ • นิติบุคคล อัตรา 15-30% • นิติบุคคล ตปท15% ม.70 • นิติบุคคลใน DTAบางประเทศยกเว้น ห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล 30% (23/20) บริษัทจำกัด / บริษัทมหาชน 30% (23/20) 15, 20% (23) SME บริษัทจดทะเบียน 25, 30% บริษัท MAI 20, 30% ภาษีเงินได้นิติบุคคล6

  7. อัตราภาษีขององค์กรธุรกิจอัตราภาษีขององค์กรธุรกิจ เงินปันผล /เงินส่วนแบ่งกำไร กำไรจากการโอนหุ้น องค์กรธุรกิจ ยกเว้น, 10%, 30% พรฎ 405 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค ROH -บุคคลธรรมดา 10-37% -นิติบุคคล 15-30% -นิติบุคคลต่างประเทศ 15% (นิติบุคคลใน DTA บางประเทศยกเว้น) ยกเว้น เฉพาะที่จ่ายจากกิจการ ROH ยกเว้นและ 30%(23/20) ยกเว้นเฉพาะที่จ่ายจากกิจการ BOI BOI 30%(23/20) กิจการร่วมค้า (JV) ยกเว้นเฉพาะเงินส่วนแบ่งกำไรหลังภาษี พรฎ 10 N/A แยกเสีย 15% - 30%(23/20) N/A กลุ่มบริษัท Consortium บุคคล – ยกเว้น กฎ. 126 บริษัทไทย – 15% - 30% บริษัทตปท - ไม่ถูกหักภาษี 30%(23/20) สาขาบริษัทต่างประเทศ ภาษีจำหน่ายเงินกำไร 10% ม.70ทวิ N/A บริษัทธุรกิจร่วมลงทุน Venture Capital Co., Ltd. ยกเว้น เฉพาะเงินปันผลและกำไรจากการขายหุ้น ยกเว้น พรฏ 10 ยกเว้น พรฎ ฉ.10 กองทุนรวม บุคคล - 10% พรฏ 262, บริษัทไทย – ยกเว้น พรฎ 263, บริษัทตปท. ไม่ถูกหักภาษี ไม่ต้องเสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคล7

  8. องค์กรธุรกิจ ร่วมลงทุน บุคคลธรรมดา นิติบุคคลไทย นิติบุคคลต่างประเทศ นิติบุคคลต่างประเทศอนุสัญญาภาษีฯ ผู้ถือหุ้น บริษัท J.V.Consortiumซื้อหุ้นซื้อทรัพย์สินควบกิจการ องค์กรธุรกิจ ภาษี บริษัทจำกัด = 30%SME = 15 -30%MAI/SET = 20, 25, 30% BOI = 0%สาขาบริษัท ตปท = 30% กำไร ขาดทุน รายจ่าย ม.65 ทวิ (4) (7) ม. 65 ตรี (13) (14) (15) ป.113/2545 บริษัทลูก บริษัทในเครือ บุคคลภายนอก บริษัทในกลุ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล8

  9. 2. ทุนของบริษัท ภาษีเงินได้นิติบุคคล9

  10. ทุนของบริษัท หุ้นสามัญ ประกอบกิจการ ระดมทุน หุ้น/ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น หุ้นบุริมสิทธิ์ บริษัท ใบสำคัญแสดงสิทธิ์ (WARRANT) หุ้นกู้แปลงสภาพ ภาษีเงินได้นิติบุคคล10

  11. 3. การก่อหนี้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล11

  12. บริษัท การก่อหนี้ ดอกเบี้ย • หากเป็นสถาบันการเงินไม่มีภาระหัก ณ ที่จ่าย • หากเป็นนิติบุคคลไทย หัก 1% (ทป. 4 ข้อ 4 (3)) เงินกู้ในประเทศ ตราสารหนี้ ก่อหนี้ ม.40(4)(ก) 15% หักภาษี ณ ที่จ่าย บุคคลธรรมดา หุ้นกู้/ตั๋วเงิน เงินกู้ต่างประเทศ ปกติ: 15% ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ม.70) เงินกู้/ตราสารหนี้/ส่วนลด:10% (พรฎ ฉ.18 + ภาษีซ้อนฯ) นิติบุคคลต่างประเทศ 15% หักภาษี ณ ที่จ่าย (ม.50 (2)) บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล12

  13. 4. ธุรกรรมต่าง ๆ ภาษีเงินได้นิติบุคคล13

  14. บริษัท ธุรกรรมต่าง ๆ ในประเทศ ค่าบริการจ้าง ม. 40 (2)(6)(7) (8) ค่าสิทธิ ม. 40 (3) ค่าซื้อสินค้า ม. 40 (8) ค่าเช่า ม. 40 (5) ไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย หักภาษี ณ ที่จ่าย 5% หักภาษี ณ ที่จ่าย 3% (ทป. 4/2528) หักภาษี ณ ที่จ่าย 1, 2, 3, 5% (ทป. 4/2528) ภาษีเงินได้นิติบุคคล14

  15. บริษัท ธุรกรรมต่าง ๆ ต่างประเทศ ค่าบริการจ้าง ม. 40 (2)(6)(7) (8) ค่าสิทธิ ม. 40 (3) ค่าซื้อสินค้า ม. 40 (8) ค่าเช่า ม. 40 (5) หักภาษี ณ ที่จ่าย 15% ยกเว้น – เงินได้ 40(7),(8) ยกเว้น – อนุสัญญาฯ หักภาษี ณ ที่จ่าย 15% ไม่หักตามอนุสัญญาฯ บางประเทศ หักภาษี ณ ที่จ่าย 15% อนุสัญญาฯ บางประเทศลดเหลือ 5%, 8% ไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคล15

  16. 5. ผลตอบแทนจากเงินลงทุน5. ผลตอบแทนจากเงินลงทุน ภาษีเงินได้นิติบุคคล16

  17. บริษัท ผลตอบแทนจากเงินลงทุน ผลตอบแทนจากการลงทุน ม.40(4) (ข) (ช) บุคคลธรรมดา นิติบุคคลต่างประเทศ นิติบุคคลไทย • หักภาษี ณ ที่จ่าย 10%และเครดิตภาษีได้ 3/7 • ยกเว้นเงินได้ตามหลักเกณฑ์ ม. 65 ทวิ (10) หากไม่เข้าเงื่อนไขเสีย 50% • ยกเว้นภาษีหัก ณ ที่จ่ายตามเงื่อนไขข้อ 5 ของ ทป.4/2528 • หักภาษี ณ ที่จ่าย 10% ปันผล • หัก ณ ที่จ่าย 15% ยกเว้นกรณีภาษีซ้อนบางประเทศอาจยกเว้น • ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย แต่รวมเสียภาษีเงินได้ • หัก ณ ที่จ่ายและ เสียภาษี 5-37% ยกเว้นกรณีบุคคลธรรมดาในตลาดฯ กำไรจากการขายหุ้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล17

  18. แผนภูมิการวางแผนการเงินและภาษีแผนภูมิการวางแผนการเงินและภาษี ภาษีเงินได้นิติบุคคล18

  19. แผนภูมิการวางแผนการเงินและภาษีแผนภูมิการวางแผนการเงินและภาษี บริษัท ต่างประเทศ ในประเทศ ค่าบริการ ม.40(2)(6)(7)(8) ค่าบริการจ้าง ม. 40 (2)(6)(7)(8) ค่าเช่า ม.40(5) ค่าซื้อสินค้า ม.40(8) ค่าเช่า ม. 40 (5) ค่าสิทธิ (ม.40(3) ค่าสิทธิ ม. 40 (3) ค่าซื้อสินค้า ม. 40 (8) 15% ไม่ต้องหักกรณีภาษีซ้อนบางประเทศ หักภาษี ณ ที่จ่าย 5% หรือ 15% หักภาษี ณ ที่จ่าย 3% หักภาษี ณ ที่จ่าย 5% 15% หรือไม่หัก ณ ที่จ่ายกรณี (1) อนุสัญญาภาษีซ้อน (2) เงินได้ตาม ม.40(7)(8) ไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย หักภาษี ณ ที่จ่าย 1%, 2%, 3%, 5% (ทป..4/2528) ไม่หัก ภาษี ณ ที่จ่าย เงินกู้ในประเทศ ประกอบกิจการ ดอกเบี้ย • หากเป็นสถาบันการเงินไม่มีภาระหัก ณ ที่จ่าย • หากเป็นนิติบุคคลไทย หัก 1% ก่อหนี้ ม.40(4)(ก) หุ้นสามัญ ระดมทุน หุ้น/ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น ตราสารหนี้ หุ้นบุริมสิทธิ์ หุ้นกู้/ตั๋วเงิน 15% หักภาษี ณ ที่จ่าย บุคคลธรรมดา ใบสำคัญแสดงสิทธิ์(WARRANT) เงินกู้ต่างประเทศ นิติบุคคลต่างประเทศ ผลตอบแทนจากการลงทุน ม.40(4) (ข) (ช) หุ้นกู้แปลงสภาพ เงินกู้/ตราสารหนี้/ส่วนลด 10% (ภาษีซ้อน) –15% หัก ณ ที่จ่าย บุคคลธรรมดา 15% หักภาษี ณ ที่จ่าย นิติบุคคลต่างประเทศ บุคคลธรรมดา นิติบุคคลไทย ปันผล • ยกเว้นเงินได้กรณีเข้าหลักเกณฑ์ ม. 65 ทวิ (10) หากไม่เข้าเงื่อนไขเสีย 50% • ยกเว้นกรณีเข้าเงื่อนไขข้อ 5 ของ ทป.4/2528 • หักภาษี ณ ที่จ่าย 10%และเครดิตภาษีได้ 3/7 • หักภาษี ณ ที่จ่าย 10% กำไรจากการขายหุ้น • หัก ณ ที่จ่าย 15% ยกเว้นกรณีภาษีซ้อนบางประเทศอาจยกเว้น • ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย แต่รวมเสียภาษีเงินได้ • หัก ณ ที่จ่ายและ เสียภาษี 5-37% ยกเว้นกรณีบุคคลธรรมดาในตลาดฯ ภาษีเงินได้นิติบุคคล19

  20. 6. การคำนวณกำไรสุทธิ รายได้ และรายจ่ายต้องห้าม ภาษีเงินได้นิติบุคคล20

  21. การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี กำไรสุทธิ = รายได้จากกิจการ หรือเนื่องจากกิจการ (ม.65 ว. 1) หัก รายจ่ายตามเงื่อนไข ม.65ทวิ และม.65ตรี การคำนวณรายได้และรายจ่ายให้ใช้เกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) ม.65 ว.2 รายได้ที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีใด แม้ว่าจะยังไม่ได้รับชำระในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น มารวมคำนวณเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น และให้นำรายจ่ายทั้งสิ้นเกี่ยวกับรายได้นั้นแม้จะยังมิได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญ๙นั้นมารวมคำนวณเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล21

  22. กรณีศึกษา: เกณฑ์สิทธิ ไทย ฮ่องกง บริษัท จ. (โจทก์) สัญญาให้บริการปรึกษาแนะนำทางเทคนิค บริษัท A บริษัท จ. มีภาระผูกพันต้องจ่าย - ค่าปรึกษาแนะนำทางเทคนิค - ค่าภาษีออกให้ ฎีกา 7874/2544 โจทก์ย่อมมีสิทธิที่จะนำรายจ่าย ค่าปรึกษาแนะนำในเชิงเทคนิคและภาระภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่โจทก์ต้องรับภาระตามสัญญามาบันทึกรายการบัญชีเพื่อรับรู้รายจ่ายสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่ค่าใช้จ่ายนั้นเกิดได้ ... มิใช่ว่าโจทก์นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายเมื่อใด และจึงนำมาเป็นรายจ่ายของโจทก์ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ซึ่งจะกลายเป็นการรับรู้รายจ่ายโดยใช้เกณฑ์เงินสดผสมกับเกณฑ์สิทธิ ภาษีเงินได้นิติบุคคล22

  23. รายได้ เกณฑ์การรับรู้รายได้ให้ใช้เกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) ม. 65 + ท.ป. 1/2528 บริษัทไทย บริษัท ตปท. รายได้ เงินได้จากกิจการที่กระทำในประเทศไทย ม.66 ว.2 + ม. 76 ทวิ เงินได้ทั่วโลก (worldwide Income) ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล23

  24. ข้อสอบเนติบัณฑิตสมัยที่ 62 (2552) ข้อเท็จจริง • บริษัทช่างไทย จำกัด เป็นนิติบุคคลจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ ในประเทศไทย • บริษัทช่างไทย จำกัด ประกอบกิจการรับเหมาก่อสร้างและธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • ในปี 2551 บริษัทช่างไทย จำกัด • ได้รับเงินค่าจ้างรับเหมาตามสัญญาก่อสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้าในประเทศบราซิลซึ่งไม่มีอนุสัญญาภาษีซ้อนกับประเทศไทย เป็นเงิน 2,000 ล้านบาท และ • มีเงินได้จากการประกอบธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ในประเทศดังกล่าวอีกเป็นเงิน 500 ล้านบาท คำถาม • บริษัทช่างไทย จำกัด จะต้องนำเงินที่ได้รับจากการสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้า และจากการประกอบธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ในประเทศบราซิลมาเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้แก่ประเทศไทย หรือไม่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล24

  25. ข้อสอบเนติบัณฑิตสมัยที่ 62 (2552) ก่อสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้า บริษัทช่างไทย จำกัด 2,000 ล้านบาท 500 ล้านบาท ค้าอสังหาริมทรัพย์ ประเทศบราซิล ประเทศไทย • จดทะเบียนจัดตั้ง • จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม • จดภาษีธุรกิจเฉพาะ บริษัทช่างไทย จำกัด ภาษีเงินได้นิติบุคคล25

  26. ข้อสอบเนติบัณฑิตสมัยที่ 62 (2552) ธงคำตอบ • ภาษิเงินได้นิติบุคคลใช้หลัก Worldwide Income เงินได้ 2,500 ล้านบาท ต้องนำมารวมเพื่อเสียภาษีเงินได้ในประเทศไทย • เงินได้จากการรับเหมาก่อสร้างที่ทำในต่างประเทศ ไม่อยู่ในบังคับต้องเสีย VAT ในไทย • เงินได้จากธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศ ไม่อยู่ในบังคับต้องเสีย SBT ในไทย ภาษีเงินได้นิติบุคคล26

  27. รายได้ที่ได้รับยกเว้นรายได้ที่ได้รับยกเว้น เงินปันผล จากบริษัทไทย ม.65 ทวิ (10) ประมวลรัษฎากร ม.3 • กิจการโรงเรียน พรฏ 284 • เงินปันผลจาก ตปท พรฏ 10 รายได้จากกิจการ BOI พรบ.ส่งเสริมฯ • ส่วนแบ่งกำไรจาก JV พรฏ 10 รายได้ยกเว้น ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล27

  28. รายจ่ายต้องห้าม เงินสำรอง ม. 65ตรี (1)ฎ.2761/24, 2878/2532, 1462/2530 รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเองม. 65ตรี (9) ฎ.5124/2531, 3406/2534 เงินกองทุน ม.65ตรี (2) ฎ.140/2534 3410/2534 รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายส่วนตัว โดยเสน่หา หรือการกุศล ม. 65ตรี (3) ฎ.2761/2524, 5124/2531, 3969/2532 เงินเดือนของผู้ถือหุ้น ม. 65ตรี (8) ฎ.3608/2534 การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทน ม. 65ตรี (7) ค่ารับรอง ม. 65ตรี (4) ฎ.2041/2536, 528/2537 รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน ม. 65ตรี (5) ฎ.528/2537, 551/2537 ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีซื้อของผู้ประกอบการจดทะเบียน ม. 65ตรี (6 ทวิ) เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญา ม. 65ตรี (6) คณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร 10/2528 ภาษีเงินได้นิติบุคคล28

  29. รายจ่ายต้องห้าม (ต่อ) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินของตนเอง ม. 65ตรี (10) ฎ.3726/2526, 811/2519 รายจ่ายตามที่กำหนดโดย พรฎ ม. 65ตรี (20) เช่น พรฎ ฉ. 315 ดอกเบี้ยที่คิดให้สำหรับเงินทุนของตนเอง ม.65ตรี (11) ฎ. 2646-2649/2516 รายจ่ายต้องห้าม ราจ่ายที่กำหนดจ่ายจากผลกำไร ม. 65ตรี (19) ฎ.949/2509, 840/2524 ผลเสียหาย ผลขาดทุนสุทธิม. 65ตรี (12) ฎ.47/2510, 3185/2522 รายจ่ายซึ่งพิสูจน์ผู้รับไม่ได้ ม. 65ตรี (18) ฎ.1050/2524, 2735/2532 รายจ่ายที่มิใช่เพื่อหากำไรโดยเฉพาะ ม. 65ตรี (13) ฎ.2860-2861/2536, 6501/2534, 6704/2541 ค่าของทรัพย์สินที่ตีราคาต่ำลง ม. 65ตรี (17) ฎ.5897/2550 ค่าซื้อทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติม. 65ตรี (15) ฎ.3137/2523 รายจ่ายที่มิใช่เพื่อกิจการในประเทศไทย ม. 65ตรี (14) ฎ.1229/2551 ค่าของทรัพยากร ธรรมชาติที่สูญสิ้น ม. 65ตรี (16) ภาษีเงินได้นิติบุคคล29

  30. สัญญาเช่าที่ดิน บริษัทผู้ให้เช่าที่ดิน บริษัทผู้เช่าที่ติน ค่านายหน้า 4.5 ล้านบาท ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนการเช่าที่ดิน 4 ล้านบาท นายหน้า กรมที่ดิน กรณีศึกษา - มาตรา 65 ตรี (5) ภาษีเงินได้นิติบุคคล30

  31. มาตรา 65 ตรี (5) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน คำพิพากษาฎีกาที่ 434/2551 ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนการเช่าที่ดินเป็นรายจ่ายเพื่อหารายได้จากการให้เช่าที่ดิน ไม่ใช่รายจ่ายที่จ่ายไปแล้วบังเกิดเป็นทุนรอนของบริษัทขึ้นมา ดังนั้น ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนการเช่าที่ดินจึงไม่ใช่รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร ค่านายหน้าเป็นรายจ่ายตอบแทนในการก่อให้เกิดสัญญาเช่าระหว่างโจทก์กับผู้เช่า จึงเป็นรายจ่ายเพื่อหารายได้จากการให้เช่าที่ดิน ไม่ใช่รายจ่ายค่านายหน้า จึงไม่เป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร โจทก์จะถือเอารายจ่ายค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนการเช่ากับรายจ่ายค่านายหน้าเป็นนายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของโจทก์เพียงใดนั้น เมื่อรายจ่ายทั้งสองรายการดังกล่าวไม่เป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนดังได้วินิจฉัยมาแล้ว รายจ่ายทั้งสองรายการดังกล่าวเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีใด ย่อมเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้นทั้งหมด มิใช่นำมาเฉลี่ยรายจ่ายตามสัดส่วนของรายได้ที่เกิดขึ้นในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ภาษีเงินได้นิติบุคคล31

  32. กรณีศึกษา – ม. 65 ตรี (17) เดิม หลังลดทุน A A 16 ล้านหุ้น 10.6ล้านหุ้น ลดลง 5.4 ล้านหุ้น B B ทุนจดทะเบียน 300 ล้านบาท หุ้นทั้งหมด 30 ล้านหุ้น B ลดทุนเพื่อล้างผลขาดทุนสะสมเพื่อให้สามารถจดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนได้ B ลดทุนโดยลดจำนวนหุ้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล32

  33. มาตรา 65 ตรี (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาลดลง...” คำพิพากษาฎีกาที่ 5897/2550 (ประชุมใหญ่) การลดทุนไม่ว่าโดยการลดมูลค่าหุ้นหรือลดจำนวนหุ้นเพื่อนำไปล้างผลขาดทุนสะสมไม่มีผลกระทบต่อสัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้น แต่เป็นเพียงการลดทุนที่ B ได้จดทะเบียนไว้เท่านั้น แม้การลดจำนวนหุ้นจะทำให้หุ้นของ A จำนวนหนึ่งหายไป แต่ก็ไม่ได้ทำให้มูลค่าทั้งสิ้นของเงินลงทุนใน B สูญหายไปทั้งหมดหรือโดยสิ้นเชิงA อาจเสียหายมากขึ้นหรือไม่เสียหายเลยเนื่องจากการลดทุนของ B ก็ได้ เพราะ A ยังมีหุ้นที่เหลือจากการลงทุนให้ขายได้ในอนาคต ผลเสียหายที่เกิดขึ้นจากการลดทุนจึงยังไม่มีความแน่นอนเนื่องจากต้องพิจารณามูลค่าทั้งสิ้นของเงินลงทุนในหุ้นซึ่งเป็นทรัพย์สินอันเดียวกันไม่ได้พิจารณาที่หุ้นแต่ละหุ้น ที่ A อ้างว่าได้รับความเสียหายแล้วจึงฟังไม่ขึ้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล33

  34. กรณีศึกษา: ม. 65 ตรี (13) ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น *(1) ขายหุ้นบริษัท ส. • ส. มีหนี้สิน / ผลประกอบการขาดทุนจำนวนมาก บริษัท จ.(โจทก์) บริษัท ส. (2) โจทก์ จัดตั้งบริษัท อ. *(3) ขายหุ้นบริษัท ส. ขาดทุน • หุ้นของ ส. ไม่มีมูลค่าแล้ว บริษัท อ. * (1) ผู้ถือหุ้น บริษัท ส. ไม่ได้รับเงินค่าหุ้นคืน * (3) บริษัท จ. นำผลขาดทุนจากการขายหุ้นมาถือเป็นค่าใช้จ่ายทางภาษี ภาษีเงินได้นิติบุคคล34

  35. มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ คำพิพากษาฎีกาที่ 6704/2541 โจทก์ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายที่จะซื้อหุ้นของ บริษัท ส. เพื่อฟื้นฟูกิจการของบริษัท ส. ให้ก้าวหน้าและมีผลกำไร เพราะในปีเดียวกับที่โจทก์ซื้อหุ้นมา โจทก์ได้ตั้งบริษัท อ. ขึ้นมาประกอบกิจการและมีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับบริษัท ส. ทั้งยังตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับบริษัท ส. หากโจทก์มีจุดมุ่งหมายที่จะฟื้นฟูกิจการของ บริษัท ส . ดังข้ออ้างของโจทก์แล้วก็ไม่มีความจำเป็นที่โจทก์จะต้องตั้งบริษัท อ. ขึ้นมาแข่งขันกันเอง โจทก์คงมีความมุ่งหมายเพียงเพื่อจะช่วยเหลือผู้ถือหุ้นของบริษัท ส. และในเวลาเดียวกันก็จะนำผลขาดทุนมาหักเป็นรายจ่ายของโจทก์ การที่โจทก์ขายหุ้นที่ซื้อมาให้บริษัท อ. แล้วหากขาดทุนเป็นจำนวนเงิน 95,992,516 บาท จริง ผลขาดทุนดังกล่าวก็มิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือกิจการโดยเฉพาะ โจทก์ใช้วิธีการและชั้นเชิงอันแยบยลในการช่วยเหลือผู้ถือหุ้นของบริษัท ส. และในเวลาเดียวกัน ก็พยายามทำให้กำไรสุทธิของโจทก์ลดลง... ก็ไม่สมควรที่จะงดหรือลดเบี้ยปรับให้ลดลงอีก ภาษีเงินได้นิติบุคคล35

  36. ธนาคารต่างประเทศ กู้ยืม + เสียดอกเบี้ย นำเงินทุนทั้งหมดให้กู้ยืมโดยไม่คิดดอกเบี้ย ลงทุน บริษัท ฮ.(โจทก์) บริษัท ก. บริษัท ค. กรณีศึกษา - มาตรา 65 ตรี (13) ภาษีเงินได้นิติบุคคล36

  37. มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ คำพิพากษาฎีกาที่ 1056/2549 การที่โจทก์กู้เงินจากธนาคารในต่างประเทศไปลงทุนซื้อหุ้นในบริษัท ก. โดยโจทก์เสียดอกเบี้ยให้แก่ธนาคารผู้ให้กู้ แล้วบริษัท ก. นำเงินลงทุนทั้งหมดไปให้บริษัท ค. กู้โดยไม่ต้องเสียดอกเบี้ย โดยเจตนาทำให้ต้นทุนของบริษัท ค. ต่ำลงและมีผลกำไรเพิ่มขึ้น เห็นได้ชัดเจนว่า ผลกำไรเกิดขึ้นแก่บริษัท ค. ซึ่งเป็นอีกนิติบุคคลหนึ่งต่างหากจากโจทก์ รายจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ที่โจทก์จ่ายไปจึงเป็นรายจ่ายเพื่อให้เกิดกำไรแก่นิติบุคคลอื่น เป็นรายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการของโจทก์โดยเฉพาะ ต้องห้ามไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (13) ภาษีเงินได้นิติบุคคล37

  38. กรณีศึกษา: ม. 65 ตรี (12) แบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ไม่ได้นำขาดทุนปี 12 มาหักออก บริษัท ฮ.(โจทก์) ไม่ได้นำขาดทุนปี 12, 14 มาหักออก นำขาดทุนปี 12, 14 มาหักออก ภาษีเงินได้นิติบุคคล38

  39. ม. 65 ตรี (12) คำพิพากษาฎีกาที่ 3185/2522 โดยหลักแล้วผลขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีก่อน ๆ ไม่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ เว้นแต่ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกินห้าปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบันซึ่งเป็นข้อยกเว้น เจตนารมณ์ของประมวลรัษฎากรที่บัญญัติข้อยกเว้นดังกล่าวขึ้นมาเห็นได้ว่า เพื่อจะช่วยเหลือบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ดำเนินการขาดทุน ให้มีโอกาสประคับประคองตัวดำเนินกิจการต่อไปได้ โดยเมื่อมีกำไรขึ้นมาเมื่อใดก็ยอมให้เอาผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกินห้าปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบันเป็นรายจ่ายมาหักในการคำนวณกำไรสุทธิ คำว่ายกมาจึงหมายความว่ายกมาตามวิธีการทางบัญชีแต่ละปีจนถึงปีที่มีกำไรสุทธิ ถ้าหักแล้วยังขาดทุนสุทธิอยู่อีกก็ให้ยกไปหักในปีต่อไป ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนกว่าจะพ้นการขาดทุนสุทธิแต่ผลการขาดทุนสุทธิที่ยกมาดังกล่าวต้องเป็นผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกินห้าปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน ภาษีเงินได้นิติบุคคล39

  40. ม. 65 ตรี (12) คำพิพากษาฎีกาที่ 3185/2522 (ต่อ) เมื่อบริษัท ฮ. (โจทก์) ยื่นแบบฯ ปี 2513 บริษัท ฮ. ก็จะต้องแสดงรายการผลขาดทุนสุทธิในรอบปี 2512 ให้ปรากฏในแบบฯ เพื่อไปหักกำไรสุทธิในปี 2513 แต่ถ้าบริษัท ฮ. ไม่มีกำไรสุทธิหรือถ้ากำไรสุทธิในปี 2513 ยังไม่พอกับผลขาดทุนสุทธิในปี 2512 บริษัท ฮ. ก็ต้องยกยอดขาดทุนสุทธิทั้งหมดหรือที่เหลือให้ปรากฏในการยื่นแบบฯ ในปี 2514 เพื่อไปหักกำไรสุทธิในปี 2514 และทำเช่นนี้ได้เรื่อยไปตามหลักเกณฑ์ที่กล่าวมาข้างต้น บริษัท ฮ. จะเอาผลขาดทุนสุทธิในปี 2512 และ 2514 ไปหักกำไรสุทธิในปี 2516 ไม่ได้ เพราะมิได้เป็นไปตามขั้นตอนในการยื่นแบบฯ ของแต่ละปี เป็นการยุ่งยากแก่เจ้าหน้าที่ของกรมสรรพากร (จำเลย) ในการที่จะเรียกเก็บภาษีจากบริษัท ฮ. ได้ถูกต้อง อันไม่ต้องด้วยเจตนารมณ์ของประมวลรัษฎากร และจะทำให้ผู้ถือหุ้น บุคคลภายนอก ตลอดจนเจ้าหน้าที่ของกรมสรรพากรหลงผิดในฐานะของบริษัท ฮ. ซึ่งอาจจะมีผลการกระทบกระเทือนต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนได้ ดังนั้น คำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินและคำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมสรรพากรจึงชอบด้วยกฎหมายแล้ว ภาษีเงินได้นิติบุคคล40

  41. บริษัท CD บริษัท CRG บริษัท ส.(โจทก์) 1 ก.พ. 38 บริษัท ช. ปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายเงินปันผล บริษัท ช. หลังจ่ายปันผล กรณีศึกษา: ม. 65 ทวิ (10) 1 มิ.ย. 38 CD และ CRG ขายหุ้นที่ถือในบริษัท ส. ให้บริษัท ช. บริษัท CRG บริษัท CD บริษัท ส.(โจทก์) 1 ก.พ. 36บริษัท ส. ซื้อหุ้นบริษัท ช. บริษัท ช. ก่อนจ่ายปันผล ภาษีเงินได้นิติบุคคล41

  42. ม. 65 ทวิ (10) บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ให้นำเงินปันผลที่ได้จากบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย มารวมคำนวณเป็นรายได้เพียงกึ่งหนึ่งของจำนวนที่ได้ หากบริษัทที่มีเงินได้ที่เป็นเงินปันผลถือหุ้นที่ก่อให้เกิดเงินปันผลนั้นไว้ไม่น้อยกว่าสามเดือนนับแต่วันที่ได้หุ้นนั้นมาถึงวันมีเงินได้ดังกล่าว และมิได้โอนหุ้นนั้นไปก่อนสามเดือนนับแต่วันที่มีเงินได้ เว้นแต่ บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยดังต่อไปนี้ ไม่ต้องนำเงินปันผลที่ได้จากบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย มารวมคำนวณเป็นรายได้ (ก) บริษัทจดทะเบียน (ข) บริษัทจำกัดนอกจาก (ก) ซึ่งถือหุ้นในบริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่า 25% ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลและบริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่ได้ถือหุ้นในบริษัทจำกัดผู้รับเงินปันผลไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม ภาษีเงินได้นิติบุคคล42

  43. ม. 65 ทวิ (10) คำพิพากษาฎีกาที่ 5733/2544 ขณะที่ บริษัท ช. ปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นประกาศจ่ายเงินปันผลให้บริษัท ส. (โจทก์) จำนวน175,219,000 บาท ซึ่งเป็นวันที่ถือว่าบริษัท ส. มีรายได้ในเงินปันผลจำนวนดังกล่าวนั้น บริษัท ช. ยังมิได้เข้าถือหุ้นในบริษัท ส. หรือเคยถือหุ้นในบริษัท ส. ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้นมาก่อน เงินปันผลจำนวนดังกล่าวจึงเป็นเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณเป็นรายได้ทั้งจำนวน ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ทวิ(10)(ข) การที่ต่อมาบริษัท ช. เข้ามาถือหุ้นในบริษัท ส. ไม่ว่าจะอยู่ในรอบระยะเวลาบัญชีที่บริษัท ส. ได้รับเงินปันผลนั้นมาหรือไม่ก็ตาม ย่อมไม่ทำให้เงินปันผลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณเป็นรายได้ทั้งจำนวนนั้น ต้องกลับมาเป็นเงินปันผลที่ต้องนำมาคำนวณเป็นรายได้กึ่งหนึ่งตามประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ทวิ(10) วรรคหนึ่งไปได้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล43

  44. 7. กรณีศึกษา ภาษีเงินได้นิติบุคคล44

  45. ข้อสอบผู้ช่วยฯ 22 มิถุนายน 2546 บริษัท วัน ธนาคารต่างประเทศ 1 ม.ค. 2540 กู้ยืม 20 ล้าน USD เพื่อนำมาใช้ก่อสร้างโรงงาน ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน อันเนื่องมาจากการปรับปรุงระบบการเปลี่ยนเงินตราของ กท.คลัง เป็นรายจ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์ตอบแทนอันมีผลก่อให้เกิดรายได้เป็นการถาวรต่อธุรกิจไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมเกินกว่า 1 รอบบัญชี เมื่อบริษัท วัน ยังก่อสร้างโรงงานไม่เสร็จ รายจ่ายดังกล่าวจึงรายเป็นจ่ายที่เกิดขึ้นก่อนวันที่โรงงานนั้นพร้อมใช้งาน จึงเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน ม.65ทวิ(5) บริษัท วัน จะนำผลขาดทุนฯ มาเฉลี่ยเป็นรายจ่ายในปี 40 ไม่ได้ (ฎีกา 3892/2545) 2 ก.ค. 40 31 ธ.ค. 40 1 ม.ค. 40 อัตราแลกเปลี่ยนต่อ 1 USD 47.55 บาท 25.60 บาท ลอยตัว 951 ล้านบาท 512 ล้านบาท ผลขาดทุนฯ = 439 ล้านบาท ??? ขณะที่ยังก่อสร้างโรงงานไม่เสร็จ ภาษีเงินได้นิติบุคคล45

  46. ข้อสอบผู้ช่วยฯ 2 มิถุนายน 2545 28 เม.ย.36 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท น. อนุมัติตามที่คณะกรรมการเสนอ รอบบัญชี 2535 รอบบัญชี 2536 31 ธ.ค. 35 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท น. มีมติให้เสนอขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้นจ่ายค่าตอบแทนกรรมการคนละ 1 แสนบาท บริษัท น. มีรายจ่ายค่าตอบแทนกรรมการในรอบบัญชีใด จำนวนเท่าใด ??? การคำนวณรายได้และรายจ่ายต้องให้เกณฑ์สิทธิตาม ม.65 สิทธิของกรรมการที่จะเรียกร้องให้บริษัทจ่ายเงินค่าตอบแทนและหน้าที่ของบริษัทที่จะต้องจ่ายเงินค่าตอบแทนจะเกิดขึ้นต่อมเมื่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้จ่ายได้ จึงไม่อาจถือได้ว่าค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายจ่ายในรอบบัญชี 2535 หากแต่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิในรอบบัญชี 2536 เพราะหน้าที่ของบริษัทในการจ่ายเงินค่าตอบแทนแก่กรรมการเกิดขึ้นในการประชุมวันที่ 28 เม.ย. 36 (ฎีกา 3543/2542) ภาษีเงินได้นิติบุคคล46

  47. ข้อสอบผู้ช่วยฯ 12 มีนาคม 2548 28 ม.ค.48 ผู้ซื้อพบว่าสินค้าบกพร่อง จึงส่งสินค้าคืนเป็นราคาสินค้า 1 แสนบาท พร้อมทั้งชำระเงินค่าสินค้าให้บริษัท อ. จำนวน 2.9 ล้านบาท พร้อม VAT 2.03 แสนบาท รอบบัญชี 2548 รอบบัญชี 2547 28 ธ.ค. 47 บริษัท อ. ส่งมอบสินค้าที่ขายให้แก่ผู้ซื้อ โดยออกใบกำกับภาษี ค่าสินค้า 3 ล้านบาท VAT 2.1 แสนบาท 15 ม.ค. 48 - วันครบกำหนดชำระค่าสินค้า บริษัท อ. มีรายได้จากการขายสินค้า ในรอบบัญชีใด จำนวนเท่าใด ??? การคำนวณรายได้และรายจ่ายต้องให้เกณฑ์สิทธิตาม ม.65 เมื่อบริษัท อ. ขายสินค้าให้ผู้ซื้อในราคา 3 ล้านบาท และส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อในเดือน ธ.ค.47 แม้ผุ้ซื้อจะชำระราคาในเดือน ม.ค. 48 และชำระไม่เต็มจำนวนเพราะสินค้าชำรุด ก็ถือว่าบริษัท อ. มีรายได้จากการขายสินค้าจำนวน 3 ล้านบาท แล้วในรอบบัญชี 47 ภาษีเงินได้นิติบุคคล47

  48. บริษัท กู๊ดแลนด์ จำกัด กรรมการ 1 ร่วมกันซื้อที่ดิน 2 ให้เช่า ที่ดิน บริษัท กู๊ดทอย จำกัด ข้อสอบผู้ช่วยฯ 16 สิงหาคม 2552 • นายกอบ และนายแก้ว กรรมการบริษัท กู๊ดทอย จำกัด ร่วมกับบริษัท กู๊ดแลนด์ จำกัด ซื้อที่ดินเพื่อนำมาให้บริษัท กู๊ดทอย จำกัด เช่า • ต่อมา นายกอบ นายแก้ว และบริษัท กู๊ดแลนด์ จำกัด ได้ร่วมกันขายที่ดินไป นายกอบ นายแก้ว และบริษัท กู๊ดแลนด์ จำกัดมีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือไม่ อย่างไร ภาษีเงินได้นิติบุคคล48

  49. ธงคำตอบ การที่นายกอบ นายแก้ว และบริษัท กู๊ดแลนด์ จำกัด ร่วมกันซื้อที่ดินเพื่อนำไปให้บริษัท กู๊ดทอย จำกัด เช่าปลูกสร้างโรงงานผลิตสินค้าเป็นการร่วมกันประกอบกิจการร่วมค้า ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร จึงมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากรายได้ที่ได้รับจากการประกอบกิจการร่วมกันในนามของกิจการร่วมค้า ดังนั้น นายกอบ นายแก้ว และบริษัท กู๊ดแลนด์ จำกัด ต้องร่วมกันยื่นแบบแสดงรายการและเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในนามของกิจการร่วมค้าดังกล่าวภายใน 150 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตามมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งนี้โดยนำภาษีเงินได้ที่ถูกหักไว้แล้ว ณ ที่จ่ายมาเครดิตจากภาษีที่ต้องเสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคล49

  50. คำพิพากษาฎีกาที่ 2091/2553 ข้อเท็จจริง • สหกรณ์สุราษณ์ธานี จำกัด และบริษัท อ. จำกัด ตกลงทำนิติกรรมสัญญาจ้างและสัญญาจัดซื้อเป็น 2 สัญญาแยกจากกัน • โดยสัญญาจ้างกำหนดให้บริษัท อ.จำกัดเป็นผู้ทำงานก่อสร้างระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร ไฟฟ้าบริเวณ ระบบปรับอากาศ และระบบสุขาภิบาล โดยบริษัท อ.จำกัดเป็นผู้จัดหาแรงงาน วัสดุเครื่องมือ เครื่องใช้ ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ชนิดดีเพื่อใช้ในการจ้างงานตามสัญญา • ส่วนสัญญาจัดซื้อกำหนดให้บริษัท อ.จำกัด เป็นผู้ขายวัสดุอุปกรณ์ตามจำนวน แบบรูป และรายการประกอบแนบท้ายสัญญาดังกล่าว ภาษีเงินได้นิติบุคคล50

More Related