1 / 38

นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557

นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557. นายแพทย์วีระ ชูรุจิพร นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 11. เป้าหมายหลัก / ตัวชี้วัด. ประชาชนมีความสุข. เพิ่มความสุข. ลดความทุกข์. 70 % ของประชาชน ในแต่ละจังหวัดมีความสุข. อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน

zach
Download Presentation

นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิตนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2557 นายแพทย์วีระ ชูรุจิพร นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 11

  2. เป้าหมายหลัก / ตัวชี้วัด ประชาชนมีความสุข เพิ่มความสุข ลดความทุกข์ 70% ของประชาชน ในแต่ละจังหวัดมีความสุข อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน ในแต่ละจังหวัดลดลง บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม

  3. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556

  4. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงานตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2556 ภาพรวม

  5. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็กการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยเด็ก ส่งเสริม/ กระตุ้นพัฒนาการเด็ก พัฒนาความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ (IQ-EQ) เน้น

  6. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย เด็ก อบรมพยาบาล WBC ใน รพ.สต./ รพช. จัด National Screening ทั่วประเทศ รณรงค์/ จัดกิจกรรมSocial campaign พัฒนามุมพัฒนาการเด็กใน Well-baby Clinic บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ ระบบ Refer ใน รพศ./รพท./รพช. แพทย์ พยาบาลใน รพช. งานพัฒนาการในศูนย์เด็กเล็ก โรงพยาบาลจิตเวช ครูพี่เลี้ยง รพ.สต. รพช.

  7. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2556 วัยเด็ก

  8. 8

  9. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่นการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยรุ่น พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) พัฒนาทักษะชีวิต ป้องกันปัญหาการเรียนและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น ความรุนแรง การติดสารเสพติด การติดเกม การตั้งครรภ์ เน้น

  10. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย พื้นที่สร้างสรรค์ เวทีสร้างสุขป้องกัน 4 ปัญหาหลักในวัยรุ่น Psychosocial Clinic รพศ./รพท. วัยรุ่น ระบบ Refer ท้อง, ยาเสพติด,ความรุนแรง, เกม รพช. ระบบ Refer บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ การคัดกรองเด็กที่มีปัญหาการให้คำปรึกษาในโรงเรียน ระบบ YC SDQ โรงพยาบาลจิตเวช ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน นักจิตวิทยาในโรงเรียน ท้องไม่พร้อม / ยาเสพติด/ADHD / LD รณรงค์ สธ.+ศธ. ร่วมใจ ปฐมนิเทศ “ปฐมบททางเพศ”

  11. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2556 วัยรุ่น

  12. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงานการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน พัฒนาความสามารถในการปรับตัว/ยืดหยุ่นในการทำงาน (Resilience) สร้างความสุขในการทำงาน ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในที่ทำงาน (การติดสุรา/ยาเสพติด/ความเครียด) สร้างและรักษาความสัมพันธ์ในครอบครัว เน้น

  13. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี ป่วย กลุ่มเป้าหมาย วัยทำงาน Happy Workplaceให้ความรู้เรื่องยาเสพติด / เครียด / ซึมเศร้า / สุรา / RQ / การแก้ปัญหา ระบบการให้คำปรึกษาในPsychosocial Clinic รพศ./รพท. ระบบ Refer รพช. ระบบบริการบำบัดรักษาและฟื้นฟูทางจิตเวช สถานประกอบการ/โรงงาน โรงพยาบาลจิตเวช

  14. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2556 วัยทำงาน

  15. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ สร้างคุณค่าและความภาคภูมิใจในชีวิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เน้น

  16. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี ป่วย กลุ่มเป้าหมาย วัยสูงอายุ ส่งเสริมสุขภาพจิต / คัดกรอง Depression/Dementia และส่งต่อเข้ารับการดูแล ประเมินและดูแลภาวะDepression/Dementia รพศ./รพท. ระบบ Refer คลินิก NCD / คลินิกสูงอายุ ใน รพช. ชมรมผู้สูงอายุ ระบบบริการบำบัดรักษาและฟื้นฟูทางจิตเวช โรงพยาบาลจิตเวช

  17. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2556 วัยสูงอายุ

  18. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และการสร้างการเข้าถึงบริการฯ พัฒนาหน่วยบริการจิตเวชให้มีความเป็นเลิศเฉพาะทางฯ (Excellence center) ยกระดับงานบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในโรงพยาบาลจิตเวชทั่วไปในสังกัดกรมฯ ในระดับที่เหนือกว่าระดับตติยภูมิ (Supra Tertiary) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย รวมทั้ง พัฒนาศักยภาพบุคลากร สร้างและพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนในระดับอำเภอให้มีศักยภาพ และความเข้มแข็ง เน้น

  19. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน ดี - เสี่ยง ป่วย กลุ่มเป้าหมาย Refer บริการสุขภาพจิตและจิตเวชระดับเหนือกว่าตติยภูมิ (Supra Tertiary) ระบบส่งเสริม/ ป้องกันเฝ้าระวัง คัดกรอง ให้ความรู้เบื้องต้น ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ในระบบบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิ / ตติยภูมิ เครือข่ายในชุมชน โรงพยาบาลจิตเวช 18 แห่ง รพช. / รพท. / รพศ. 12 พวงบริการ พัฒนาการเด็ก / MR / Autistic / ADHD / Schizophrenia/ Depression / Suicide / Dementia บริการบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence) ประเมินและดูแลเบื้องต้น Refer รพ.สต. / ศสม. โรงพยาบาลจิตเวชเฉพาะทาง 21

  20. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2556 ด้านบริการ 22

  21. การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิตการพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต พัฒนาการดำเนินงานดูแลและเยียวยาจิตใจในสถานการณ์วิกฤต สุขภาพจิตจากเหตุการณ์ต่างๆ สื่อสารข้อมูลและความรู้ในการดูแลจิตใจในภาวะวิกฤต จัดทีม MCATT ประจำหน่วยงาน และประจำอำเภอในพื้นที่ พร้อมดูแลในสถานการณ์วิกฤต เน้น

  22. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย วิกฤตสุขภาพจิต เตรียมพร้อมซ้อมแผน บูรณาการการบริการวิกฤตสุขภาพจิตในระบบบริการ EMS ระยะปกติ สื่อสารความรู้ การดูแลจิตใจในวิกฤต MCATT ทุกอำเภอ ระยะวิกฤติฉุกเฉิน ส่งเสริมความรู้การดูแลจิตใจ สื่อสารความเสี่ยงจัดการกับความรู้สึก ติดตามฟื้นฟูเยียวยาจิตใจ ส่งเสริมความคิดบวก สร้างพลังใจ Resilience ระยะหลังวิกฤต

  23. ตัวชี้วัดที่สำคัญ / เป้าหมายการดำเนินงาน ตามนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2556 ภาวะ วิกฤต

  24. การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐ สู่มาตรฐานสากล พัฒนาระบบบริหารจัดการของกรมสุขภาพจิต สู่เป้าหมายคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล พัฒนาข้อมูลสารสนเทศทางระบาดวิทยาของโรค/ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) มุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้นำด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในกลุ่มประชาคมอาเซียน เน้น

  25. สรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุขสรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย

  26. แนวทางการบริหารการดำเนินงานแนวทางการบริหารการดำเนินงาน

  27. แนวทางการบริหารการดำเนินงานแนวทางการบริหารการดำเนินงาน

  28. แนวทางการบริหารจัดการ • พิจารณาให้สอดคล้องกับเป้าหมาย/ตัวชี้วัด/วัตถุประสงค์ของนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต และกิจกรรมหลักในการดำเนินโครงการ 8 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1. บริหารโครงการ/ประชุมชี้แจง 2. ศึกษา / วิจัย / พัฒนามาตรฐาน / องค์ความรู้ / เทคโนโลยี 3. พัฒนาคุณภาพ / ระบบงาน / บุคลากรในสังกัดกรมฯ 4. พัฒนาเครือข่าย / สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ 4.1 รพศ. / รพท. 4.2 รพช. 4.3 เครือข่ายอื่นๆ ในชุมชน

  29. 5. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ 5.1 Air War 5.2 Local Air War / Ground War 6. นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผล 6.1 โดยทีมผู้นิเทศระดับกรมฯ 6.2 โดยผู้นิเทศในระดับพื้นที่ (ศูนย์สุขภาพจิต+รพ.จิตเวช) 7. ประชุมวิชาการ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 8. วิจัย/สำรวจทางระบาดฯ /พัฒนาระบบข้อมูล ศูนย์สุขภาพจิตและโรงพยาบาลจิตเวช บริหารโครงการ/ประชุมชี้แจง โครงการ ในภาพรวม ให้เป็นไปตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด Outcome และ Output ที่กำหนด ไว้ในระดับนโยบาย

  30. สรุปกรอบตัวชี้วัด/เป้าหมายในการดำเนินงาน ตามนโยบายฯ

  31. แนวทางการติดตาม กำกับ และประเมินผล

  32. สำรวจข้อมูล • IQ-EQ - สิ้นแผนฯ • พัฒนาการไม่สมวัย - ครึ่งแผนฯ • ความสุข / การฆ่าตัวตาย - ทุก 3 เดือน / ทุกสิ้นปี Impact • ใช้ระบบรายงาน 21 แฟ้มของ สป. * • กรมฯ ประมวลข้อมูลรายจังหวัด และส่งรายงาน ให้กับศูนย์สุขภาพจิต/โรงพยาบาลจิตเวช • ศูนย์สุขภาพจิตกระตุ้นงานผ่านการนิเทศ Outcome • ศูนย์สุขภาพจิต/โรงพยาบาลจิตเวช • นิเทศจังหวัดเชิงคุณภาพ • ส่งรายงานให้กรมฯ Output * หมายเหตุ กรณีที่ระบบรายงาน 21 แฟ้มของสป.ในจังหวัดใดยังไม่สมบูรณ์ จะต้องใช้ระบบรายงานข้อมูล (แบบรายงานแผ่นเดียว) จากการนิเทศงานของศูนย์สุขภาพจิต

  33. Thank You !

More Related