1 / 37

ทำไม ? ภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุจึงสำคัญ

การจัดการภาวะฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุ ( Emergency management for the elderly) โดย ชัญญา ศิ ริศิลป์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลอุดรธานี พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ 4 มิถุนายน 2557. ลักษณะพิเศษของผู้สูงอายุ - Reduced body reserve -atypical presentation

Download Presentation

ทำไม ? ภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุจึงสำคัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการภาวะฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุ(Emergency management for the elderly)โดย ชัญญาศิริศิลป์พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลอุดรธานีพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ 4 มิถุนายน 2557

  2. ลักษณะพิเศษของผู้สูงอายุลักษณะพิเศษของผู้สูงอายุ -Reduced body reserve -atypical presentation -Multiple pathology -polypharmacy -social adversity RAMPS ทำไม?ภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุจึงสำคัญ

  3. -กลุ่มที่อยู่ในสถานะพึ่งพา-กลุ่มที่อยู่ในสถานะพึ่งพา -กลุ่มที่มีข้อจำกัดในการสื่อสาร -อาศัยอยู่คนเดียวหรือเร่ร่อน -มีลักษณะเฉพาะ ได้แก่ อายุมาก ติดสุรายาเสพติด มีประวัติถูกทำร้าย มีโรคร่วมมาก ผู้สูงอายุใดบ้างที่เราต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ

  4. ปัญหาของผู้สูงอายุเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินปัญหาของผู้สูงอายุเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน -ความยากในการรับรู้ว่าเกิดภาวะฉุกเฉินและการวินิจฉัย -มีความรุนแรงและผลกระทบมากกว่าที่ควรจะเป็น -ประเด็นการไม่กู้ชีพ

  5. ภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุ ทางอายุรกรรมร้อยละ 80,ทางศัลยกรรมร้อยละ 20

  6. โรคที่พบบ่อย -โรคหัวใจและหลอดเลือด -โรคระบบทางเดินหายใจ -โรคหลอดเลือดสมอง -การบาดเจ็บเนื่องจากหกล้ม

  7. อาการที่พบบ่อย -เจ็บหน้าอก -หัวใจวาย -ปวดท้อง -ปอดอักเสบ -หมดสติ

  8. ปัญหาที่สำคัญ -อาการบาดเจ็บ -ปัญหาในการดูแลตนเอง

  9. ภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในผู้สูงอายุภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ทางอายุรกรรมร้อยละ 80,ทางศัลยกรรมร้อยละ 20

  10. -โรคระบบประสาท -โรคทางจิตประสาท -การหกล้ม อุบัติเหตุ กระดูกหัก -โรคทางระบบหายใจและหลอดเลือด -โรคระบบทางเดินหายใจ -โรคระบบทางเดินอาหาร -โรคระบบต่อมไร้ท่อ -ผลข้างเคียงจากยา -ภาวะพิษจากการดื่มสุรา ได้รับสารพิษและสารเสพติด -โรคติดเชื้อในระบบต่างๆ -การได้รับการทารุณกรรม ภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ

  11. 1.ประเมินทางด้านกายภาพ1.ประเมินทางด้านกายภาพ -Geriatric syndrome -อวัยวะการรับรู้ -อาการและอาการแสดงข้อบ่งชี้โรค 2.การประเมินทางสุขภาพจิต -Delirium -Depression -Dementia -โรคจิตเภท 3.การประเมินด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.Funtional assessment หลักการประเมินสุขภาพในผู้สูงอายุอย่างครบถ้วน

  12. การสูดสำลักสิ่งแปลกปลอม(Foreign-body airway obstruction) พบว่าไอหรือหายใจลำบากขึ้นมาทันที สำลักอาหาร เอามือกำคอ รุนแรงถึง หายใจไม่ออกตัวเขียว รุนแรงมากหมดสติ หยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น การปฐมพยาบาล -1669 -ประเมินความรู้สึกตัว แนะนำให้ไอแรงๆ -ไอไม่ได้ ตัวเขียว ยืนด้านหลังโอบกำมือข้างถนัดหันนิ้วหัวแม่มือวางตั้งฉากบริเวณลิ้นปี่ ใช้มืออีกข้างโอบทับ ออกแรงดันให้แนวแรงเฉียงขึ้น ทำบ่อยๆ จนสิ่งอุดกั้นหลุด ไม่ดีขึ้น ไม่รู้สึกตัว CPR กดหน้าอก การประเมินภาวะฉุกเฉินและการช่วยเหลือผู้สูงอายุเบื้องต้น

  13. ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia) เหงื่อออกตัวเย็น ใจสั่น จะเป็นลม รุนแรงอาจไม่รู้สึกตัว Hx.DM DTX<70 การปฐมพยาบาล -น้ำผลไม้ 1 กล่อง น้ำอัดลมครึ่งกระป๋อง น้ำตาล 4 ชช หรือลูกอม (กลูโคส=15-20 g) -เจาะ DTX ซ้ำหลัง 15 นาที ยังต่ำให้ซ้ำ -ถ้าปกติแล้วให้รับประทานอาหารต่อทันที -แนะนำพบแพทย์เพื่อปรับยา -ไม่รู้สึกตัวห้ามให้ทางปาก 1669 มีกลูโคสให้ทาง IV นำส่ง รพ

  14. ภาวะชัก(Seizure) สังเกตแขนขากระตุกเป็นจังหวะทั้งสองข้างหรือข้างเดียวชัดเจน บางทีอาจเหม่อลอย เรียกไม่รู้สึกตัว Hx.epilepsy มีอาการนำ เช่นเห็นภาพ ได้ยินเสียง รับสัมผัส ได้กลิ่นก่อนชัก การปฐมพยาบาล -ก่อนชักพาไปที่ปลอดภัย นั่งหรือนอน มีผู้ดูแล -ขณะชักมักไม่เกิน 1-2 นาที คลายเสื้อผ้า ห้ามผูกมัด ห้ามใช้วัสดุใดงัดลิ้นหรือใส่ในปาก ห้ามให้ยาทางปาก จัดท่าให้นอนตะแคง -หลังชักจะสับสนประมาณ 1 ชม -นำส่ง รพ. กรณีชักครั้งแรก ชักนานเกิน 5 นาที ชักซ้ำโดยไม่รู้สึกตัวระหว่างการชัก แต่ละครั้ง สับสนหลังชักเกิน 1 ชม. บาดเจ็บ

  15. โรคหลอดเลือดสมอง(Acute stroke) ชา อ่อนแรง ใบหน้า แขนขา ด้านใดด้านหนึ่ง พูดไม่ชัด เดินเซ ซึมลง สับสน การปฐมพยาบาล -เจาะ DTX -1669 -หมดสติจัดท่านอนตะแคง

  16. Heat stroke ร้อนจนเป็นลม หมดสติ ชัก การปฐมพยาบาล -ออกจาก สวล. -อาการไม่มากให้เกลือแร่ -ถ้ามีอาการรุนแรงมากขึ้นส่ง รพ. -ระหว่างรอใช้น้ำเช็ดตัว พ่นน้ำ พัดหรือเปิดพัดลม -ห้ามให้ยาลดไข้

  17. Hypothemia หนาวสั่น อ่อนเพลีย สับสน รุนแรงมีหายใจและ HR ช้า ตัวซีดเย็น ม่านตาขยาย ไม่รู้สึกตัว การปฐมพยาบาล -ออกจาก สวล. -ส่ง รพ. -Keep warm -รู้สึกตัวดื่มน้ำอุ่น -ไม่รู้สึกตัว คลำ P ยาก HR ช้า กดหัวใจ

  18. การดูแลผู้สูงอายุบาดเจ็บการดูแลผู้สูงอายุบาดเจ็บ ตามหลัก Advance Trauma Life Support หลัก A B C D E -Airway management with C-spine precaution -Breathing and ventilation -Circulation and bleeding control -Disability -Exposure and environmental control

  19. การหกล้มและกระดูกหักในผู้สูงอายุFall and common fractures in older persons

  20. ตำแหน่งกระดูกหักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุโรคกระดูกพรุน กระดูกข้อสะโพก กระดูกสันหลังและกระดูกข้อมือ

  21. กระดูกข้อสะโพกหัก(Proximal femoral fractures)พบบ่อยคือ Fracture neck of femur และ intertrochanteric of femur พบอัตราเสียชีวิตหลังหักร้อยละ 10-30 ภายใน 1 ปีแรก ร้อยละ 40 หลังหัก เดินโดยใช้อุปกรณ์ช่วย หลังผ่าตัดต้องใช้ 1 ปี เกิดหักซ้ำล้มซ้ำได้มากขึ้นการรักษา การผ่าตัด การไม่ผ่าตัด

  22. กระดูกสันหลังยุบ(Vertebral compression fracture)ส่วนใหญ่มีอาการเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีอาการหรือเจอโดยบังเอิญ ผู้สูงอายุบางรายปวดมากจนต้องนอนติดเตียงทำให้เกิด immobilization syndromคือ แผลกดทับ DVT UTI Pneumonia มวลกล้ามเนื้อลดลง กระดูกพรุนรุนแรงมากขึ้น มีอัตราตายสูงหลังกระดูกหลังยุบร้อยละ 15

  23. อาการและอาการแสดง ตรวจพบโดยบังเอิญ ปวดหลังเฉียบพลันหลังก้ม ไอจามแรงๆ ยกของหนักธรรมดา ปวดมากขึ้นเวลาลุกนั่งหรือเดิน ดีขึ้นเองหลัง 4-6 wk โดยทั่วไปถ้ายุบจากกระดูกพรุนมักไม่มีความผิดปกติของระบบประสาทร่วมด้วย บางรายเกิด Kyphosisหลังค่อมโน้มไปด้านหน้าเพิ่มความเสี่ยงหกล้ม

  24. อาการและอาการแสดง กระดูกยุบหนึ่งปล้องทำให้มีความเสี่ยงเกิดยุบในปล้องอื่นๆเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า กระดูกหลังยุบหลายๆปล้องส่งผลต่อระบบต่างๆเช่น การทำงานของปอดลดลง ท้องผูก เสี่ยงต่อการเกิดโรคลำไส้เล็กอุดตันเป็นผลจากช่องปอดและท้องมีขนาดเล็กลงจากการยุบของหลัง

  25. การรักษา การผ่าตัด การไม่ผ่าตัด โดยการให้ยาแก้ปวด ปวดดีขึ้นเริ่มกายภาพ การใส่เสื้อพยุงหลังประคองตั้งแต่สะโพกจนถึงไหล่ อาการจะดีขึ้นในระยะเวลา 2-4 สัปดาห์ หายไปประมาณ 3 เดือน

  26. การรักษาด้วยยา นอกจากยาแก้ปวดแล้วควรร่วมกับการรักษาโรคกระดูกพรุนไปด้วย ยาแก้ปวดควรเลือกใช้กลุ่ม acetaminophen เป็นอันดับแรก รองลงมากลุ่ม NSAIDS และ opioidแต่ต้องระวังผลข้างเคียงในผู้สูงอายุ ยากลุ่มอื่นๆที่ลดอาการปวดในผู้สูงอายุกระดูกหลังยุบได้เช่น calcitoninและยา teriparatideรักษากระดูกพรุน

  27. การรักษาโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุที่มีกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนการรักษาโรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุที่มีกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน ควรรักษาทันทีภายหลังผ่าตัดแล้ว มีหลังสำคัญ 4 ประการคือ การกำจัดปัจจัยเสี่ยง การรักษาโรคร่วมที่อาจเป็นสาเหตุของโรคกระดูกพรุน การรักษาโดยไม่ใช้ยา และการรักษาโดยการใช้ยา

  28. การรักษาโรคร่วม การตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน -CBC -BUN,Cr -Ca -Serum 25-hydroxyvitamin D -Phosphate -parathyriod homone

  29. การรักษาโรคร่วม การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางเลือก -thyroid function test -24-hour urine calcium -Lab เกี่ยวระบบภูมิต่างๆ -Urine bence jones protien

  30. การรักษาโดยไม่ใช้ยา -การรับประทานอาหารที่มี Ca,vit D แคลเซียมควรได้ 1000-1200 mg/d Vit D ควรได้ 1000-2000 IU/d -การออกกำลังกาย

  31. การรักษาโดยใช้ยา ปัจจุบันมี 2 กลุ่ม -กลุ่มต้านการสลายกระดูก(anti-resorptive agent) -กลุ่มกระตุ้นสร้างกระดูกใหม่(anabolic agent)

  32. สรุปนิดนุงนะคร้า ลักษณะของผู้สูงอายุ -Reduced body reserve -atypical presentation -Multiple pathology -polypharmacy -social adversity การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ

  33. Psychosocial issue Incontinence Falling Confusion Iatrogenicdisorders Impaired Homeostasis ปัญหาสำคัญในผู้สูงอายุ Giants of Geriatrics for a nursing assessment (Olenek,K.2000)

  34. Holism & Giant Geriatric Nursing Assessment ปัญหาสำคัญของผู้สูงอายุ การประเมินผู้สูงอายุอย่างครบถ้วน กระบวนการพยาบาล องค์รวม ปรากฏการณ์

  35. ขอบคุณสำหรับการรับฟังค่ะขอบคุณสำหรับการรับฟังค่ะ

More Related