1 / 77

Introduction to Semantic-based Knowledge Management Tools

การอบรมเชิงปฏิบัติการ Semantic-based Knowledge Management Tools รุ่นที่ 4 วันที่ 2-3 กันยายน 2556 ณ . อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย. Introduction to Semantic-based Knowledge Management Tools. แนะนำเครื่องมือการพัฒนาฐานความรู้เพื่อนำไปสู่ การประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงความหมาย.

tariq
Download Presentation

Introduction to Semantic-based Knowledge Management Tools

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ Semantic-based Knowledge Management Tools รุ่นที่ 4 วันที่ 2-3 กันยายน 2556 ณ.อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย Introduction to Semantic-based Knowledge Management Tools แนะนำเครื่องมือการพัฒนาฐานความรู้เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงความหมาย ห้องปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีภาษาธรรมชาติและความหมาย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็คทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติmarut.bur@nectec.or.th Semantic 4

  2. Outline • การจัดการความรู้เชิงความหมาย (Semantic-based Knowledge Management) • ฐานความรู้สำหรับคอมพิวเตอร์ (Ontology) • ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน • แนะนำการอบรม • โปรแกรมที่ใช้ในการอบรม • Hozo Ontology Editor • Ontology Application Management (OAM) Framework • กำหนดการ

  3. การจัดการความรู้เชิงความหมาย (Semantic-based Knowledge Management)

  4. กระบวนการจัดการความรู้ (KM Processes)

  5. การจัดการความรู้ภายในองค์กรการจัดการความรู้ภายในองค์กร ในปัจจุบันสารสนเทศ (Information) ไม่สามารถตอบสนองความต้องการในเรื่องราวต่างๆ ขององค์กรได้ทั้งหมด เนื่องจากสารสนเทศมีเป็นจำนวนมากเกินกว่าความต้องการ (Information Overload)จึงต้องมีการเปลี่ยนรูปจากสารสนเทศให้มาอยู่ในรูปแบบของความรู้ (Knowledge) การจัดการความรู้ (Knowledge Management หรือ KM) มีความแตกต่างจากการจัดการสารสนเทศ (Information Managementหรือ IM) เป็นที่ยอมรับกันมากยิ่งขึ้นว่าการจัดการความรู้ได้เข้ามามีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กร เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสำคัญหนึ่งในการในการสนับสนุนการจัดการความรู้

  6. ความรู้(Knowledge) “คือ ผลสรุปของการสังเคราะห์สารสนเทศ (information)โดยพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของสารสนเทศเทียบเคียงกับความรู้ที่มีอยู่ จนได้ผลสรุปที่ชัดเจน ถูกต้อง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมต่างๆ ต่อไปได้อย่างเหมาะสม”

  7. ประเภทของความรู้ ความรู้สามารถแบ่งออกเป็น 2ประเภทใหญ่ๆ คือ ความรู้ที่ชัดแจ้ง หรือ ความรู้สาธารณะ (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้รับการเขียนหรืออธิบายถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ฟังก์ชั่นหรือสมการ ความรู้ที่ซ่อนเร้น หรือ ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ซึ่งสามารถเขียนหรืออธิบายได้ยาก เช่น ความรู้ที่เป็นทักษะหรือความสามารถส่วนบุคคล

  8. การจัดการความรู้ (Knowledge Management) แหล่งที่มา: สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม(สคส.)

  9. องค์ประกอบของการจัดการความรู้(KM Components)

  10. กระบวนการจัดการความรู้ (KM Processes)

  11. ความรู้องค์กรอยู่ที่ใดความรู้องค์กรอยู่ที่ใด

  12. ความรู้องค์กรอยู่ที่ใด (2) แหล่งที่มา: The Knowledge Evolution, p.35

  13. กระบวนการสร้างความรู้ – SECI Model “Knowledge Spiral” I. Nonaka and H. Takeuchi, The Knowledge Creating Company (1995)

  14. กระบวนการสร้างความรู้ – SECI Model (2) S = Socialization การสร้างความรู้ด้วยการแบ่งปันประสบการณ์โดยการพบปะ สมาคม และพูดคุยกับผู้อื่น ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอด แบ่งปัน ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลไปให้ผู้อื่น E = Externalization การนำความรู้ในตัวบุคคลที่ได้นำมาพูดคุยกันถ่ายทอดออกมาให้เป็นสิ่งที่จับต้องได้หรือเป็นลายลักษณ์อักษร C = Combination การผสมผสานความรู้ที่ชัดแจ้งมารวมกัน และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถนำความรู้นั้นไปใช้ในทางปฏิบัติได้ I = Internalization การนำความรู้ที่ได้มาใหม่ไปใช้ปฏิบัติหรือลงมือทำจริง ๆโดยการฝึกคิด ฝึกแก้ปัญหา จนกลายเป็นความรู้และปรับปรุงตนเอง

  15. การจัดระเบียบความรู้(Knowledge Codification) Knowledge Codification capture and organization of knowledge so that it can be found and re-used take the mass of knowledge accumulated through scanning and structure it into an accessible form Best Practices Directories of Experts (People)

  16. การจัดระเบียบความรู้(Knowledge Codification) (2)

  17. http://incrediblydull.blogspot.com/2008/07/km-core-sample.htmlhttp://incrediblydull.blogspot.com/2008/07/km-core-sample.html

  18. เทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้(KM Technology) Information systems Hardware, Software, DBMS, Content Collaboration tools Chat, Professional forums, Communities of practice (COP), Wiki, Blog Expertise-location tools. Support finding subject matter experts Data-mining tools Support data analysis that identifies patterns and establishes relationships among data elements Search-and-discover tools Search engines for specific subjects Expertise-development tools Simulations and experiential learning to support developing experience, expertise, Online training

  19. เว็บความหมาย (Semantic Web)

  20. ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีเว็บ

  21. ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีการสืบค้นข้อมูลทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีการสืบค้นข้อมูล

  22. สถาปัตยกรรมเว็บเชิงความหมายสถาปัตยกรรมเว็บเชิงความหมาย Semantic-based Knowledge Management

  23. Semantic Web Technology for Knowledge Management

  24. มีการประมาณการว่า80% ของข้อมูลที่มีอยู่ภายในองค์กรอยู่ในรูปแบบของเอกสาร(Unstructured Information) (Forrester Research, 2007) • เช่น Documents, E-mails, web pagesเป็นต้น • ข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบเอกสารเหล่านี้ ในบางครั้งไม่สามารถตอบสนองความต้องการในการที่จะแก้ปัญหาในการทำงานประจำวันได้อย่างทันท่วงที • การไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็นต่อการปฎิบัติงานก่อให้เกิดปัญหา • ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง (Reduced productivity) • มีข้อมูลไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ (Incomplete knowledge to support decision making) • การจัดการความรู้เชิงความหมายเป็นแนวทางหนึ่งในการจัดระเบียบและเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่เข้ากับองค์ความรู้เฉพาะทาง หรือออนโทโลยี (Ontology) การจัดการความรู้เชิงความหมาย (Semantic-based Knowledge Management)

  25. การจัดการความรู้เชิงความหมาย (Semantic-based Knowledge Management) (2) • การจัดการความรู้เชิงความหมายเป็นการจัดเก็บองค์ความรู้เฉพาะทางที่สามารถนำไปใช้ในระบบสารสนเทศและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ ในรูปแบบของฐานความรู้สำหรับคอมพิวเตอร์หรือออนโทโลยี (Ontology) • เทคโนโลยีวิศวกรรมความรู้ (Knowledge Engineering)เพื่อใช้ในการรวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้(Knowledge Acquisition) • การจัดการความรู้เชิงความหมายมีความเกี่ยวข้องทั้งกับความรู้ชนิดที่เป็นลายลักษณ์อักษร และ ความรู้ชนิดที่อยู่ในตัวบุคคล(Explicit + Tacit Knowledge) • ต้องอาศัยแหล่งความรู้ทั้งที่อยู่ในรูปของเอกสารอ้างอิง (Reference documents)และจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา (Domain experts)

  26. ฐานความรู้สำหรับคอมพิวเตอร์ (Ontology) • ฐานความรู้หรือออนโทโลยี (Ontology)เป็นองค์ความรู้เฉพาะทางที่จัดเก็บอยู่ในรูปแบบที่มีโครงสร้าง (structured knowledge)สามารถนำไปประมวลผล ใช้งานในโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ให้มีความชาญฉลาด (intelligence) และเพิ่มความเป็นอัตโนมัติของกระบวนการ (automation) มากยิ่งขึ้น • ฐานความรู้หรือออนโทโลยีที่พัฒนาขึ้นโดยวิศวกรความรู้ (Knowledge engineers)ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Domain experts)จะช่วยให้สามารถนำความรู้เฉพาะทาง (Domain knowledge)ไปประยุกต์ใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศได้อย่างหลากหลาย • เทคโนโลยีวิศวกรรมความรู้ (Knowledge engineering)มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาและจัดเก็บองค์ความรู้ให้สามารถนำไปใช้งานในโปรแกรมและระบบสารสนเทศต่างๆได้

  27. ประโยชน์ของการพัฒนาฐานความรู้สำหรับระบบสารสนเทศประโยชน์ของการพัฒนาฐานความรู้สำหรับระบบสารสนเทศ • เพิ่มความอัตโนมัติของกระบวนการ(Automation) • ลดภาระของมนุษย์(Reduced workloads) • เพิ่มความแม่นยำ ลดข้อผิดพลาด(Reduced errors) • สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ในโปรแกรมและระบบสารสนเทศต่างๆ ได้กว้างขวางยิ่งขึ้น(Interoperability) • ฐานความรู้สามารถแบ่งปันและใช้ซ้ำได้(Share and reuse)

  28. เครื่องมือสนับสนุนการจัดการความรู้เชิงความหมาย(Semantic-based Knowledge Management Tools) • โปรแกรมช่วยสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้เฉพาะทาง (Ontology Development Tool) • โปรแกรมจัดการการเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่เข้ากับองค์ความรู้เฉพาะทาง(Database-Ontology Mapping Tool) • โปรแกรมประยุกต์ที่นำองค์ความรู้เฉพาะทางมาใช้ประโยชน์(Ontology Applications) เช่น • การสืบค้นข้อมูลเชิงความหมาย (Semantic Search) • ระบบแนะนำข้อมูล (Recommender System) • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)

  29. Ontology Development Tool ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง(Domain Experts) โปรแกรมช่วยสร้างออนโทโลยี (Ontology Editor) เอกสารอ้างอิง (Reference Documents)

  30. แนวทางการบูรณาการฐานข้อมูลกับฐานความรู้เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงความหมายแนวทางการบูรณาการฐานข้อมูลกับฐานความรู้เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงความหมาย Experts Books, References, Documents Ontologies, Rules Tacit Knowledge Explicit Knowledge KNOWLEDGE CAPTURE (Creation) KNOWLEDGE CODIFICATION OWL,RDF DATABASES KNOWLEDGE ACCESS & SHARING SPARQL Knowledge Applications Semantic-based Knowledge Portal KNOWLEDGE BASE

  31. แนวทางการบูรณาการฐานข้อมูลกับฐานความรู้เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงความหมาย (2) • ระบบสารสนเทศ/ฐานข้อมูล (Information System/ Database) • ฐานความรู้ (Knowledge base) • ออนโทโลยี (Ontologies) และ กฎ(Rules) • โปรแกรมประยุกต์ใช้งานความรู้ (Knowledge Applications) • ระบบสืบค้นเชิงความหมาย (Semantic Search System) • ระบบแนะนำข้อมูล (Recommender System) • เว็บท่าศูนย์กลางความรู้ (Knowledge Web Portal)

  32. แนวทางการบูรณาการฐานข้อมูลกับฐานความรู้เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงความหมาย (3) • ส่วนการบูรณาการและเข้าถึงฐานข้อมูลและฐานความรู้ (Knowledge Access and Sharing) • เชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้ากับฐานความรู้ (Database –Ontology Mapping)โดยใช้มาตรฐานเว็บเชิงความหมาย(Semantic Web Standards) • มาตรฐานข้อมูล RDF (Resource Description Language), OWL (Web Ontology Language) • ภาษาการสืบค้นข้อมูลSPARQL (RDF Query Language)

  33. ตัวอย่างการพัฒนาฐานความรู้สำหรับการดูแลรักษาโรคเบาหวานตัวอย่างการพัฒนาฐานความรู้สำหรับการดูแลรักษาโรคเบาหวาน

  34. ตัวอย่างการพัฒนาฐานความรู้สำหรับการดูแลรักษาโรคเบาหวาน (2)

  35. IF Patient.Eye.Result =“No DR” THEN Patient.Eye.FollowUp=12 IF Patient.Eye.Result =“Mild NPDR” THEN Patient.Eye.FollowUp=6 IF Patient.Eye.Result =“Moderate NPDR” THEN Patient.Eye.FollowUp=3 IF Patient.Eye.Result =“Severe NPDR” OR Patient.Eye.Result =“PDR” THEN Patient.Eye.FollowUp=0 แปลงองค์ความรู้จากเอกสาร CPG ให้อยู่ในรูปแบบของฐานความรู้สำหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  36. แปลงข้อความจากเอกสาร CPG ให้อยู่ในรูปแบบฐานความรู้ที่โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถนำไปใช้งานได้ HBA1c (X, “high”) OR FBS(X, “high”) OR Lipid(X, “high”) คำแนะนำ (X, a) a=“ออกกำลังกายหนักปานกลาง 150 นาที/สัปดาห์ หรือออกกำลังกายหนักมาก 90 นาที/สัปดาห์ ควรกระจายอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ และ ไม่งดออกกำลังกายติดต่อกันเกิน 2 วัน (CPG หน้า 16)”

  37. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ฐานความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการผู้ป่วยเบาหวานตัวอย่างการประยุกต์ใช้ฐานความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการผู้ป่วยเบาหวาน

  38. ข้อมูลแจ้งเตือนให้ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจตาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้โดยพิจารณาจากผลการตรวจตาครั้งล่าสุดข้อมูลแจ้งเตือนให้ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจตาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้โดยพิจารณาจากผลการตรวจตาครั้งล่าสุด การประยุกต์ใช้งานในโปรแกรมแจ้งเตือนความจำ (Reminder) สำหรับฐานข้อมูลผู้ป่วยเบาหวาน

  39. ข้อแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่มีระดับไขมันสูงข้อแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่มีระดับไขมันสูง

  40. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ออนโทโลยีเพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลและระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าวตัวอย่างการประยุกต์ใช้ออนโทโลยีเพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลและระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าว ระบบสกัดข้อมูล/ ระบบสืบค้นข้อมูลงานวิจัยข้าว ระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าว ระบบสารสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มิได้มีการแยกส่วนความรู้เฉพาะด้าน(domain knowledge) ออกจากฐานข้อมูลและการพัฒนาระบบ ทำให้ไม่สามารถใช้ซ้ำองค์ความรู้ได้(reusable knowledge) ฐานข้อมูลงานวิจัยข้าว แบบฟอร์มนำเข้าข้อมูล

  41. แนวทางการประยุกต์ใช้ออนโทโลยีแนวทางการประยุกต์ใช้ออนโทโลยี ฐานข้อมูลงานวิจัยข้าว ฐานความรู้ออนโทโลยีสาขางานวิจัยข้าว ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูล แบบฟอร์มนำเข้าข้อมูล ความรู้เฉพาะด้านที่นำไปใช้งานได้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆได้ ระบบสารสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าว ระบบสกัดข้อมูล/ ระบบสืบค้นข้อมูลงานวิจัยข้าว

  42. ฐานความรู้ออนโทโลยี - โครงการวิจัยด้านข้าว

  43. ฐานความรู้ออนโทโลยี - สาขาวิจัยด้านข้าว

  44. การพัฒนาฐานข้อมูลและระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าวการพัฒนาฐานข้อมูลและระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าว การพัฒนาฐานข้อมูลและระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าวย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ. 2549-2553) มีขั้นตอนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง 4 ขั้นตอนหลักดังนี้ • งานพัฒนาฐานความรู้ออนโทโลยี (ontology development) สำหรับสาขางานวิจัยด้านข้าว • งานพัฒนาฐานข้อมูลงานวิจัยข้าวย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ. 2549-2553) • งานจำแนกกลุ่มโครงการวิจัยตามหมวดหมู่ (project classification) โดยเป็นการวิเคราะห์ จากข้อมูลโครงการวิจัยย้อนหลังปีพ.ศ. 2549-2553 • งานพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าว

  45. การพัฒนาฐานข้อมูลและระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าว (2)

  46. พัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าวพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยข้าว

  47. ระบบถามตอบข้อมูลชีวประวัติ(Biographical Question-Answering System) Web-based Question-Answering UI

  48. OWL Export SPARQL Querying # Ex. 2. [REL: ลูกสาว] [Q: =ชื่ออะไร] PREFIX mark: <http://semantic.nectec.or.th/ontology/abhisit360.owl#> SELECT ?z WHERE { mark:Abhisit mark:has_daughter ?x . ?x mark:name ?z} Biographical Question-Answering System (2) Person Ontology Modeling

  49. เว็บท่าบริการความรู้เพื่อการฟื้นฟูบ้านหลังน้ำท่วมเว็บท่าบริการความรู้เพื่อการฟื้นฟูบ้านหลังน้ำท่วม

  50. ตัวอย่าง – คำแนะนำแบบเฉพาะบุคคล (Personalized Recommendation)

More Related