1 / 175

กลเม็ดเคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21/43แฟ้ม ปี 2556

กลเม็ดเคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21/43แฟ้ม ปี 2556. ร . พ . สัตหีบ กม .10. Topic. ความสำคัญของข้อมูล 21/43 แฟ้ม มาตรฐานโครงสร้าง 21/43 แฟ้มข้อมูลปี 2556 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ปี 2556 การประมวลผล/คิดคะแนน /การตรวจสอบข้อมูล (audit) เคล็ดลับในการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้อง

nuru
Download Presentation

กลเม็ดเคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21/43แฟ้ม ปี 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลเม็ดเคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21/43แฟ้มปี 2556 ร.พ.สัตหีบ กม.10

  2. Topic • ความสำคัญของข้อมูล21/43 แฟ้ม • มาตรฐานโครงสร้าง21/43แฟ้มข้อมูลปี 2556 • รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล ปี 2556 • การประมวลผล/คิดคะแนน /การตรวจสอบข้อมูล (audit) • เคล็ดลับในการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้อง • ปัญหาที่พบจากการบันทึกในปี2555 • สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหา • การพัฒนาโปรแกรมMit-net เพื่อการบันทึกส่งออกข้อมูล21/43 แฟ้ม

  3. ความสำคัญของ 21แฟ้ม คือระบบข้อมูลรายงานบริการผู้ป่วยนอกและข้อมูลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรครายบุคคล ตามงบจัดสรร P&P วัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล 1. เพื่อติดตามผลงานหน่วยบริการ 2. เป็นข้อมูลในการจัดสรรงบP&Pในปีต่อไป ลดภาระการรายงานข้อมูลของหน่วยบริการ รูปแบบที่ใช้คือมาตราฐานชุดข้อ 21แฟ้ม ตามที่สนย. และสปสช ต้องการ ประกอบด้วย

  4. datasetNSHO2556

  5. รูปแบบข้อมูลที่ส่ง21แฟ้มรูปแบบข้อมูลที่ส่ง21แฟ้ม

  6. โครงสร้าง 43 แฟ้มมาตรฐาน (OPD+IPD+PP) แฟ้มข้อมูลสะสม แฟ้มข้อมูลบริการ แฟ้มข้อมูลส่งเสริมป้องกัน แฟ้ม SERVICE แฟ้มAPPOINTMENT แฟ้ม ACCIDENT(แฟ้มใหม่) แฟ้ม DIAGNOSIS_OPD (DIAG) แฟ้ม PROCEDURE_OPD (PROCED) แฟ้ม DRUG_OPD(DRUG) แฟ้ม CHARGE_OPD(แฟ้มใหม่) แฟ้ม ADDMISSION(แฟ้มใหม่) แฟ้ม DIAGNOSIS_IPD(แฟ้มใหม่) แฟ้ม PROCEDURE_IPD(แฟ้มใหม่) แฟ้ม DRUG_IPD(แฟ้มใหม่) แฟ้ม CHARGE_IPD(แฟ้มใหม่) แฟ้ม DENTAL (แฟ้มใหม่) แฟ้ม SPECIALPP (แฟ้มใหม่) แฟ้ม COMMUNITY_SERVICE (แฟ้มใหม่) แฟ้ม ICF (แฟ้มใหม่) แฟ้ม FUNCTIONAL (แฟ้มใหม่) แฟ้ม REHABILITATION (แฟ้มใหม่) แฟ้ม COMMUNITY_ACTIVITY (แฟ้มใหม่) แฟ้ม PERSON แฟ้ม ADDRESS(PERSON) แฟ้ม HOME แฟ้ม CARD แฟ้ม CHRONIC แฟ้ม DEATH แฟ้ม DRUGALLERGY(แฟ้มใหม่) แฟ้ม WOMEN แฟ้ม DISABILITY (แฟ้มใหม่) แฟ้ม VILLAGE (แฟ้มใหม่) แฟ้ม PROVIDER (แฟ้มใหม่) แฟ้ม ANC แฟ้ม PRENATAL (MCH) แฟ้ม LABOR (MCH) แฟ้ม POSTNATAL (MCH) แฟ้ม NEWBORN(PP) แฟ้ม NEWBORNCARE (PP) แฟ้ม EPI แฟ้ม NUTRI แฟ้ม FP แฟ้ม SURVIEL แฟ้ม NCDSCREEN แฟ้ม LABFU แฟ้ม CHRONICFU สีแดงและสีม่วงคือ 21 แฟ้มมาตรฐาน

  7. โครงสร้าง 17 แฟ้มมาตรฐาน การส่งต่อ แฟ้ม PERSON แฟ้ม ADDRESS แฟ้ม CARD แฟ้ม DRUGALLERGY แฟ้ม SERVICE แฟ้ม ACCIDENT แฟ้ม DIAGNOSIS_OPD แฟ้ม ADMISSION แฟ้ม DIAGNOSIS_IPD แฟ้ม PROVIDER แฟ้มREFER_HISTORY แฟ้ม REFER_RESULT แฟ้ม CARE_REFER แฟ้ม CLINICAL_REFER แฟ้ม INVESTIAGATION_REFER แฟ้ม DRUG_REFER แฟ้ม PROCEDURE_REFER

  8. ระบบข้อมูลPPปี2555

  9. แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (25.72 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) หักเงินเดือน Quality Performance (25.00 บ./คน) Capitation+ Workload (99.96 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) CUP/สถานพยาบาล กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง

  10. จ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัวจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว • จัดสรรตามจำนวนประชาชนทุกสิทธิ -ตามจำนวนประชากรโดยรวม -ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ • จัดสรรตามปริมาณผลงานบริการปีที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคปีงบประมาณ 2555 ที่หน่วยบริการประจำและเครือข่ายจัดส่งข้อมูลผ่านชุดข้อมูลการบริการผู้ป่วยนอกและสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรครายบุคคล( OP/ PP individualrecord)

  11. แผนผังการจัดสรรค่าบริการแพทย์แผนไทย ปี56 เขต บริการแพทย์แผนไทย 7.20 บ./ปชก. สิทธิ UC (26,465,337.00) 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 0.35 บ./ปชก. 1. งบค่าบริการเพิ่มเติม 6.85 บ/ปชก. จัดสรรงบเป็น Global เขต ตามจำนวน ปชก. และผลงานเดิม ในสัดส่วน 70:30 (6.60) 25,285,325.00 บาท จัดสรรงบเป็น Global เขต ตามจำนวน ปชก. (0.31) 1,180,012.00 บาท

  12. ระบบรายงานข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปี 2556 Programs OP/PP Individual /Province /21 แฟ้ม E-Claim / Paper Program TTM Data Center

  13. Pointตั้งต้นเพื่อคิดงบฯสนับสนุนPointตั้งต้นเพื่อคิดงบฯสนับสนุน ก) การให้บริการในหน่วยบริการ - นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน - ประคบ ครั้งละ 0.5 คะแนน - อบไอน้ำสมุนไพร ครั้งละ 0.5 คะแนน - ฟื้นฟูมารดาหลังคลอด ครั้งละ 500 บาท ข) การจ่ายยาสมุนไพร ED ตามประกาศ - รายการต่อใบสั่งยา รายการละ 1 คะแนน

  14. ข้อมูลที่ใช้ในการติดตามประเมินผล ปีงบประมาณ 56

  15. แนวทางการบันทึกข้อมูลแผนไทย ปี 2556 1 ขึ้นทะเบียน จนท. ที่จบหลักสูตรแพทย์แผนไทย ที่เว็บไซด์ ของ สปสช. (ระบุเลขบัตร ปชช ของ จนท นั้นด้วย) 2 เพิ่มรายชื่อผู้ใช้( user ) ของ จนท . ลงในฐานข้อมูล JHCIS/mit-net (ระบุเลขบัตร ปชช ของ จนท นั้นด้วย) 3 บันทึก(เพิ่ม) ข้อมูลหลักสูตรการอบรมด้านแพทย์แผนไทย ของ จนท . ลงในฐานข้อมูล JHCIS/mit-net 4 การจ่ายค่าตอบแทนจากงานแพทย์แผนไทย กับหน่วยบริการที่มีผลงานบริการนวด ประคบ อบสมุนไพรเพื่อการรักษาผู้ป่วย และเพื่อฟื้นฟูร่างกายด้วยการแพทย์แผนไทยแก่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุในชุมชน บริการฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด และการใช้ยาจากสมุนไพร ดังนี้

  16. 4.1 หัตถการแผนไทย( รหัสหัตถการ 7 หลักตามมาตรฐาน ) ได้แก่ การนวดต่างๆ , อบฯ ,ประคบฯ ,ทับหม้อเกลือ ฯลฯ 4.2 มูลค่าการจ่ายยาแผนปัจจุบัน เทียบกับมูลค่าการจ่ายยา สมุนไพร ต่อปี ของสถานบริการใดๆ ต้องมีสัดส่วนไม่เกิน 88 : 12 (…ถ้ามูลค่ายาแผนปัจจุบันเกิน 88% สถานบริการนั้นจะไม่ผ่านเกณฑ์ อันนี้) …ดังนั้นจะต้องทำการกำหนดราคาทุน และราคาขาย ต่อหน่วย ของยาทุกรายการ(ทั้งยาแผนปัจจุบันและยาสมุนไพร) ไว้ให้ครบทุกรายการ 4.3 การวินิจฉัยโรคแผนไทย( รหัส U ) ผู้วินิจฉัยฯควรต้องเป็นแพทย์ หรือแพทย์แผนไทย ที่ขึ้นทะเบียน และมีเลขใบประกอบวิชาชีพแผนไทย เท่านั้น

  17. ช่องทางการส่งข้อมูล สถานีอนามัย/PCU สสจ. Provis / Data Center 21 แฟ้ม สนย. 21 แฟ้ม โปรแกรมตรวจสอบเบื้องต้น โรงพยาบาล Rep 21 แฟ้ม Statement

  18. Website : OP/PP Individuals http://op.nhso.go.th/op

  19. Website : สนย. http://203.157.10.11/web2011/

  20. datasetNSHO2556

  21. datasetNSHO2556

  22. datasetNSHO2556

  23. datasetNSHO2556

  24. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวมรูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวม • ไม่รับแฟ้มข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่ถูกต้อง ซึ่งจะแจ้งเป็นแฟ้มข้อมูลเสียที่หน้าเว็บ ส่วนแฟ้มที่มีโครงสร้างถูกต้อง แต่ข้อมูลไม่ถูกต้องนั้นจะรับไว้ประมวลผล และจะรายงานเป็นข้อมูล error ตาม code ที่กำหนดไว้ • แฟ้ม SERVICE และ DIAG จะต้องส่งพร้อมกัน • แฟ้ม DRUG และ PROCED ถ้าต้องการส่ง จะต้องส่งพร้อมกับแฟ้ม SERVICE และ DIAG ทุกครั้ง

  25. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลการแก้ไขข้อมูลที่ error • ข้อมูลที่ส่งให้ สปสช. ได้รับการประมวลผล (รายงาน Rep) มีสถานะ • ผ่าน • ไม่ผ่าน (error) • ข้อมูลที่ไม่ผ่านสามารถแก้ไขให้ถูกต้อง และส่งใหม่ได้ • ข้อมูลที่ตรวจแล้วผ่าน จะไม่รับการ updateใด ๆ ถ้าส่งอีกจะเป็นข้อมูลซ้ำซ้อน และมีผลต่อ Performance

  26. การตรวจสอบข้อมูลและการคิดคะแนนการตรวจสอบข้อมูลและการคิดคะแนน • การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP)

  27. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) • ข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดในแต่ละแฟ้ม ตาม Flow การตรวจสอบโครงสร้างแฟ้มที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วยนอก • มีข้อมูลการวินิจฉัย (Diagnosis) ที่ถูกต้องและเชื่อมโยงกับการให้บริการได้ • ต้องมีการให้รหัสโรคหลัก (Principle Diagnosis, Pdx) อย่างน้อย 1 รหัสที่ถูกต้องตาม ICD10 (WHO 2010) หรือ ICD10 TM หรือรหัสแพทย์แผนไทย • ตรวจสอบความสอดคล้องของการให้รหัสโรค (ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 5.0) • ประเภทการวินิจฉัย (Diagnosis Type) มีค่าตั้งแต่ 1 – 5

  28. แนวทางการให้รหัสโรค 1.)   ให้รหัสโรคตามโรคที่พบจริงเท่านั้น ห้ามให้รหัสเกินความจำเป็นหรือให้เผื่อไว้โดยเฉพาะรหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพถ้ามาตรวจด้วยอาการของโรค ห้ามลง รหัสกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพและรหัสการตรวจร่างกายต่างๆเช่น ตรวจสุขภาพ,วัดความดัน ฯลฯ เพราะเป็นงาน Routine และไม่เป็นไปตามแนวทางในการให้รหัสโรค

  29. แนวทางการให้รหัสโรค 2.)   บริการที่เกิดขึ้น ณ หน่วยบริการใด ให้ถือเป็นผลงานและข้อมูลของหน่วยบริการนั้นกรณีทีมสหวิชาชีพจากโรงพยาบาลลงไปให้บริการที่ PCU ให้ถือว่าบริการและข้อมูลนั้นเป็นผลงานของ PCU ที่ลงไปห้ามนำมาบันทึกเป็นผลงานของโรงพยาบาล

  30. แนวทางการให้รหัสโรค 3.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้สามารถระบุสาเหตุของโรคได้ชัดเจนโรคเดียวให้วินิจฉัยโรคที่พบ ตามมาตรฐาน ICD10 เป็นรหัสโรคหลัก (Dx Type1) เพียงรหัสเดียว4.)   กรณีเจ็บป่วยครั้งนี้ สามารถระบุสาเหตุของโรคได้มากกว่า 1 โรค ให้ระบุโรคที่หนักที่สุด ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยมาพบในครั้งนี้เป็นโรคหลักส่วนโรคอื่นๆเป็นโรคร่วม (ให้เฉพาะที่จำเป็น)

  31. แนวทางการให้รหัสโรค 4.)   ถ้าการเจ็บป่วยครั้งนี้ไม่สามารถระบุโรคได้ชัดเจนให้วินิจฉัยตามอาการ โดยให้รหัสเป็นโรคหลัก ตามอาการที่พบหนักสุด ส่วนอาการอื่นๆที่พบให้ลง Dx Type4 other เพราะสถานีอนามัยจะไม่มีกลุ่มโรคประเภท2,3 จะ มีเฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น( แต่ถ้าสามารถระบุโรคได้ชัดเจนแล้ว การให้รหัสโรค ตามอาการ ก็ไม่มีความจำเป็น ) การวินิจฉัยโรคตามอาการควรลงเฉพาะอาการหลักๆที่พบก็พอ

  32. แนวทางการให้รหัสโรค 5.)   กรณีวินิจฉัยโรค/ให้รหัสโรคในกลุ่มอุบัติเหตุให้ลงรหัส สาเหตุของการเกิดอุบัติทุกครั้ง(รหัส V,W,X,Y)·กรณีอุบัติเหตุแล้วเกิดบาดแผลให้ระบุตำแหน่งที่เกิดบาดแผลด้วย(เฉพาะวันแรก) ·กรณีคนไข้อุบัติเหตุแล้วมาทำแผล/ตัดไหม ในวันถัดๆมา(ไม่ใช่วันแรก) ให้ลงรหัสโรคตามกิจกรรมที่มารับบริการเท่านั้น เช่น ทำแผลห้าม ลงรหัสเหมือนวันแรกที่เกิดอุบัติเหตุโดยเด็ดขาด ยกเว้น จะเกิดอุบัติเหตุซ้ำซ้อนจริงๆอีกครั้ง (ไม่ต้องลงรหัสโรคอุบัติเหตุ,ไม่ต้องลงรหัสตำแหน่งบาดแผล,ไม่ต้องลงรหัสสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ(V,W,X,Y) ลงแค่มา ทำแผล(Z480) ก็พอ )

  33. 6.)   กรณี ผู้ป่วยมา Follow Up หรือ มาตามนัด เพื่อติดตามการรักษาถ้าเป็นโรคเรื้อรังเช่น เบาหวาน,ความดัน ฯลฯ ให้ลงรหัสโรคเดิม ถ้าเป็นการนัด โรคอื่นๆให้ประเมินตามอาการ ในการมาครั้งนี้ หายดีแล้วลงรหัส  Z099 ดีขึ้นแต่ยังไม่หาย ลงรหัส  Z548 คงที่เหมือนเดิม ให้ลงรหัสโรคเดิม แต่ถ้ามาครั้งนี้พบโรคใหม่หรือป่วยเป็นโรคใหม่ ให้ถือว่าผู้ป่วยมารับบริการเป็นคนไข้ตามปกติ ให้ลงโรคใหม่ที่พบ เป็นรหัสโรคหลัก ส่วนโรคเรื้อรังเดิมให้ลงรหัสเป็นโรคอื่นๆ(Dx Type4 other)(เพราะสถานีอนามัยจะไม่มีกลุ่มโรคประเภท2,3 จะมีเฉพาะในโรงพยาบาลเท่านั้น)

  34. 7.)   กรณี ตรวจรักษาแล้วต้องส่งต่อ(Refer)ไป รพ.แม่ข่ายให้ลงรหัสโรคหรือรหัสอาการที่ตรวจพบตามแนวทางให้รหัสโรคข้างต้น ลงรหัส Z753 เพื่อระบุว่าส่งตัวไปรักษาที่อื่น ถ้าในโปรแกรมมีเมนูบันทึกระบบ Refer ให้บันทึกในงาน Refer ตามระบบปกติด้วย

  35. 8.)   กรณีไม่ได้ป่วย แต่มารับบริการอย่างอื่นๆ เช่น รับบริการตรวจสุขภาพเด็ก 0-72 เดือน ( Z001  ) นักเรียน(  Z108  ) ตรวจสุขภาพประชาชนทั่วไป (  Z000  ) ฉีดวัคซีน(ตามชนิดวัคซีน) วางแผนครอบครัว(Z30.4) ตรวจสุขภาพฟัน (Z012),ฝากครรภ์(ครรภ์แรก  Z340  ,ครรภ์ต่อมา  Z348,349  ) ตรวจภาวะโภชนาการ,ตรวจพัฒนาการ(  Z001  ) ฯลฯ ให้ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตามกิจกรรมที่ได้ให้บริการจริงๆ ถ้ามารับบริการสร้างเสริมสุขภาพ แล้ว ตรวจพบโรคให้ลงรหัสโรคที่พบ เป็นโรคหลัก(Dx Type1) ส่วนการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพที่มา เป็นรหัสโรคอื่นๆ(Dx Type4)

  36. 9.) ถ้าทำหลายๆกิจกรรมให้ลงกิจกรรมหลักที่มา เป็นรหัสโรคหลัก ส่วนรหัสกิจกรรมอื่นๆ ให้ลงเป็น รหัสอื่นๆ (Dx Type4)  เช่น มาฝากครรภ์(ครรภ์ที่2) แล้วฉีดวัคซีน(dTANC) และ เจาะเลือดตรวจ VDRL มาฝากครรภ์(ครรภ์ที่2)  เป็น Dx Type1  รหัสกิจกรรม Z34.9 ฉีดวัคซีน(dTANC) เป็น Dx Type4  รหัสกิจกรรม Z235,Z236 รหัสเจาะเลือดไม่ต้องลง

  37. 10.)    กรณีบริการนอกหน่วยบริการ เช่นรณรงค์ตรวจสุขภาพ,ตรวจคัดกรองความเสี่ยง,อนามัยโรงเรียน เยี่ยมบ้าน,หน่วยบริจาคโลหิต เหล่านี้ไม่ถือว่าเป็น ผู้ป่วยนอกแต่เป็นกิจกรรมบริการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ บริการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก และโดยปกติจะมีระบบการบันทึกผลงานเฉพาะงานนั้นๆ(หมายความว่า กิจกรรมอะไรก็ลงบันทึกตามกิจกรรมงานนั้นๆ)ข้อมูลจะไม่เกี่ยวข้องกันกับผู้ป่วยนอกหรือบริการในหน่วยบริการตามระบบปกติ

  38. แต่ถ้ามีการนำมาบันทึกในระบบข้อมูลผู้ป่วยนอกให้บันทึกเป็น ลงรหัส ส่งเสริมสุขภาพ(Z00-99) ตามกิจกรรมหลักที่ทำเพียง 1 รหัสเท่านั้นห้ามลงรหัสโรคเด็ดขาด แม้จะพบโรคก็ตามแต่การบันทึกในโปรแกรมตามระบบงานของกิจกรรมนั้นๆให้ลงรายละเอียดข้อมูลให้ครบถ้วนทุกอย่างเช่นบันทึกNCD ตรวจคัดกรองสุขภาพ ถ้าพบป่วยเป็นโรคอะไร? ก็ลงตามนั้นแต่การลงบันทึกข้อมูลผู้ป่วยนอก ให้ถือว่าทำเพียงกิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพ จึงลงเพียงรหัส Z000 เท่านั้นออกอนามัยโรงเรียน จะตรวจหู,ตรวจตา,ตรวจเหา,ตรวจผิวหนังฯลฯ ทั้งหมดนั้นถือว่า เป็นกิจกรรมอนามัยโรงเรียนให้ลงรหัสเพียง Z108 รหัสเดียวเท่านั้น

  39.         - หัตถการต่างๆไม่ต้องลง เพราะ ไม่ใช่หัตถการเพื่อการรักษาและการตรวจร่างกายต่างๆไม่ถือว่าเป็นการทำหัตถการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสารเคมีตกค้างใน กลุ่มเกษตรกร ลงรหัส Z100 การตรวจสุขภาพด้านอาชีวอนามัย       - ไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การตรวจร่างกายต่างๆไม่ถือว่าเป็นการทำหัตถการ       - การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้าง ไม่ใช่หัตถการเพื่อการรักษา แต่เป็นกระบวนการในการตรวจ เพื่อหาสาเหตุโรค เป็นงาน Routine ของโรคนั้นๆ

  40. ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 15 ปีขึ้นไป ให้ลงรหัส Z000 ตรวจสุขภาพทั่วไป ระวังข้อมูล Over ตรวจสุขภาพเกินจริง(1ปี/ครั้ง)ถ้าคนป่วยรับการตรวจรักษาโรคห้ามลงว่ามาตรวจสุขภาพโดยเด็ดขาด การตรวจสุขภาพร่างกายทั่วไปไม่ต้องลงหัตถการ เพราะ การตรวจร่างกายต่างๆไม่ถือว่าเป็นการทำหัตถการ การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจหาเบาหวาน ไม่ใช่หัตถการเพื่อการรักษา แต่เป็นกระบวนการในการตรวจ เพื่อหาพยาธิสภาพของโรค เป็นงาน Routine ของโรคนั้นๆ

  41. การติดตามเยี่ยมบ้านคนไข้ ถือเป็นการติดตามผลการรักษาและประเมินสภาพสิ่งแวดล้อมคนไข้ให้ลงรหัส  Z099 (การตรวจติดตามผลหลังการรักษาภาวะอื่นที่ไม่ระบุรายละเอียด)เป็นโรคหลัก(Dx   Type1) เพียง 1 รหัสโรคเท่านั้น(แม้จะป่วยเป็นโรคอะไรก็ตาม)** ไม่ต้องลงรหัสโรคเรื้อรัง หรือ โรคร่วมอื่น แต่สามารถลงรายการจ่ายยาหรือกิจกรรมฟื้นฟูหรือหัตถการที่มีการให้บริการแก่คนไข้จริงๆได้ (ถ้ามี)

  42. 11.) งานทันตกรรมถือเป็นบริการข้อมูลผู้ป่วยนอก ซึ่งจะมีทั้งกิจกรรม ทันตส่งเสริมสุขภาพ เช่นตรวจสุขภาพฟัน(Z012) และ ผู้ป่วยทางทันตกรรมแนวทางการให้รหัสทางทันตกรรม ยึดตามแนวทางการให้รหัสโรคตาม ICD10 เช่นเดียวกับบริการ ของผู้ป่วยนอกทั่วไป

  43. 12.) งานบริการแพทย์แผนไทยถือว่า เป็นบริการพิเศษ ที่เพิ่มเข้ามาในระบบของหน่วยบริการบริการแพทย์แผนไทยมีทั้งบริการในหน่วยบริการและบริการเชิงรุกในชุมชนซึ่งผู้ที่จะให้การวินิจฉัยโรคแพทย์แผนไทยและให้บริการแพทย์แผนไทยจะต้องเป็นผู้ผ่านการอบรมหรือจบหลักสูตรทางด้านนี้โดยเฉพาะแนวทางการให้รหัสโรคแพทย์แผนไทย มีหลักการเช่นเดียวกันกับการให้รหัสโรคแผนปัจจุบันแต่ใช้รหัสที่ต่างกันเท่านั้น

  44. การให้รหัสโรคแพทย์แผนไทยอ้างอิงจากศูนย์รหัสมาตรฐานกลางเว็บ http://thcc.or.thซึ่งจะขึ้นต้นด้วยอักษร U  ซึ่งผู้จะให้รหัสโรคนี้ต้องเป็นผู้ผ่านการอบรมหรือจบหลักสูตรทางด้านแพทย์แผนไทยโดยเฉพาะ งานบริการแพทย์แผนไทยเชิงรุก นอกหน่วยบริการ ให้ลงเหมือนกับการติดตามเยี่ยมบ้าน       (รหัส Z099) แล้วจึงลงรหัส หัตถการ ของแพทย์แผนไทยตามปกติ

More Related