1 / 117

กฎหมายระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

กฎหมายระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ. วันจันทร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ. ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด จังหวัดอุดรธานี. หัวข้อการนำเสนอ. 1. เงินเดือน/เงินติดดาว/เงินเพิ่มค่าครองชีพ ชั่วคราว 2. เงินเดือนระหว่างลา

mari-cross
Download Presentation

กฎหมายระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินงบประมาณกฎหมายระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ วันจันทร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ. ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด จังหวัดอุดรธานี

  2. หัวข้อการนำเสนอ 1. เงินเดือน/เงินติดดาว/เงินเพิ่มค่าครองชีพ ชั่วคราว 2. เงินเดือนระหว่างลา 3. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 4. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 5. เงินช่วยพิเศษ

  3. เงินเดือน (Salaries) กรมบัญชีกลาง The Comptroller Generals Department

  4. เงินเดือน ความหมาย สิทธิการรับ การงดจ่าย เงินเดือนระหว่างลา เงินช่วยพิเศษ บัญชีถือจ่าย การจ่ายเงินเดือนผ่านธนาคาร

  5. ความหมายของ เงินเดือน

  6. ความหมายของเงินเดือน • เงินเดือน / เงินอื่น • มีกำหนดจ่ายเป็นรายเดือน • จ่ายจากเงินงบประมาณรายจ่ายประเภทเงินเดือน(งบบุคลากร)

  7. สิทธิการรับเงินเดือน

  8. สิทธิการรับเงินเดือน 1. ปฏิบัติราชการ หลักทำงานต้องได้รับเงินเดือน เว้นแต่ มีกฎหมาย มติ ครม. เช่น วันหยุดราชการ

  9. สิทธิการรับเงินเดือน 2. บรรจุใหม่  วันเริ่มเข้าปฏิบัติหน้าที่ 3. แต่งตั้ง เลื่อน โยกย้าย โอน  วันที่ระบุในคำสั่ง 4. เลื่อนขั้นเงินเดือน  วันที่ระบุในคำสั่ง

  10. สิทธิการรับเงินเดือน 5. กลับเข้ารับราชการใหม่  วันเริ่มเข้าปฏิบัติหน้าที่ 6. ตาย  วันที่ถึงแก่ความตาย

  11. งดจ่าย เงินเดือน

  12. การงดจ่ายเงินเดือน 1. ละทิ้ง / หนีราชการ  ห้ามมิให้จ่ายเงินเดือน 2. ลาออก  วันก่อนวันถึงกำหนดลาออก / วันรับทราบคำสั่ง หรือควรรับทราบคำสั่ง

  13. การงดจ่ายเงินเดือน 3. ให้ออก ปลดออก ไล่ออก วันก่อนวันที่ระบุในคำสั่ง / วันรับทราบ คำสั่ง หรือวันที่ควรรับทราบคำสั่ง กรณี มีการส่งมอบงาน อย่างช้าไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันที่ ระบุในคำสั่ง

  14. การงดจ่ายเงินเดือน 4. ถูกสั่งพักราชการ  จ่ายพรบ.ผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2502  ไม่ถือเป็นอัตราว่าง

  15. การงดจ่ายเงินเดือน 5. ถูกสั่งให้ออกไว้ก่อน  อนุโลมตามพรบ.ผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2502 6. อุทธรณ์คำสั่ง  อนุโลมตามพรบ.ผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2502

  16. การงดจ่ายเงินเดือน 7. ถูกควบคุมตัวตามคำพิพากษา  อนุโลมตามพรบ.ผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2502 8. ถูกควบคุมในคดีอาญา  อนุโลมตามพรบ.ผู้ถูกสั่งพักราชการ พ.ศ.2502

  17. การงดจ่ายเงินเดือน 9. เกษียณอายุราชการ  จ่ายถึงวันสิ้นปี 10. ตาย  วันที่ถึงแก่ความตาย

  18. เงินเดือน ระหว่างลา

  19. เงินเดือนระหว่างลา ลาป่วย เจ็บป่วยธรรมดา เจ็บป่วยเพราะปฏิบัติราชการ ไม่มีกำหนด 60 วันทำการ

  20. เงินเดือนระหว่างลา ลาคลอดบุตร ได้รับเงินเดือน หญิง 90 วัน ชาย 15 วัน ไม่ได้รับเงินเดือน 150 วัน (ลากิจส่วนตัวสามารถเรียกตัวกลับมาทำงานได้ต่อ)

  21. เงินเดือนระหว่างลา ลากิจส่วนตัว 45 วันทำการ ได้รับอนุมัติก่อน จึงหยุดได้ หมายเหตุปีแรกที่เริ่มบรรจุราชการลาได้ 15 วันทำการ

  22. เงินเดือนระหว่างลา ลาพักผ่อนประจำปี ทำงาน 10 ปีขึ้นไป 10 + สะสม 20 ทำงานไม่เกิน10 ปี 10 + สะสม 10 หมายเหตุ ต้องรับราชการอย่างน้อย 6 เดือน จึงมีสิทธิลาได้ ต้องได้รับอนุมัติ จึงหยุดได้ สามารถเรียกกลับมาทำงานได้

  23. เงินเดือนระหว่างลา ลาอุปสมบท / ประกอบพิธีฮัจย์ ได้รับเงินเดือนระหว่างลา 120 วัน รับราชการไม่น้อยกว่า 1 ปี ลาได้ครั้งเดียว นับแต่เริ่มรับราชการ

  24. เงินเดือนระหว่างลา ลาไปรับการตรวจเลือก / เข้ารับการเตรียมพล พ้นระยะเวลาไม่รายงานตัว ภายใน 7 วัน งดจ่ายเงินเดือนเว้นแต่มีเหตุจำเป็น จ่ายได้ไม่เกิน 15 วัน ได้รับเงินเดือน ระหว่างลา

  25. เงินเดือนระหว่างลา ลาศึกษา / ฝึกอบรม / ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ลาได้ 4 ปี ต่อได้ 2 ปี ไม่เกิน 6 ปี ได้รับเงินเดือน ระหว่างลา

  26. เงินเดือนระหว่างลา ลาไปปฏิบัติงานในองค์กรการระหว่างประเทศ ประเภทที่ 1 - องค์การระหว่างประเทศ • - รัฐบาลมีข้อผูกพัน • - พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ ประเภทที่ 2นอกเหนือจาก ประเภทที่ 1 * ลาได้ 4 ปีต่อได้ 2 ปี ไม่เกิน 6 ปี ไม่ได้รับเงินเดือน * เว้นแต่ได้รับต่ำกว่า ได้ส่วนที่ต่ำ

  27. ค่าตอบแทนพิเศษนอกเหนือเงินเดือนค่าตอบแทนพิเศษนอกเหนือเงินเดือน

  28. ระเบียบ กค. ว่าด้วยค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือนข้าราชการและลูกจ้างประจำฯ 2547 และที่แก้ไเพิ่มเติม หลักเกณฑ์ 1. ข้าราชการได้เงินเดือน + ตำแหน่ง ให้ได้ค่าตอบแทน เท่ากับเงินตำแหน่ง เว้น ระดับ 7 2. ข้าราชการที่ได้เงินเดือนระดับ 8 8ว หรือเทียบเท่า ให้ได้รับ 3,500 บาท 3. ข้าราชการ 1-7 - เงินเดือนยังไม่เต็มขั้น - เงินเดือนเต็มขั้น 28

  29. ค่าตอบแทนพิเศษ(เงินเดือนติดดาว)ค่าตอบแทนพิเศษ(เงินเดือนติดดาว) • มีขั้นเหลืออยู่ 1.5 ขั้น ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนเพิ่ม 2% ของอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างที่ถึงขั้นสูง (2) มีขั้นเหลืออยู่ 1 ขั้น ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนเพิ่ม 4% ของอัตราเงินเดือนฯ (3) มีขั้นเหลืออยู่ 0.5 ขั้น ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนเพิ่ม 6% ของอัตราเงินเดือนฯ • 29

  30. ค่าตอบแทนพิเศษ(ค่าจ้างติดดาว)ค่าตอบแทนพิเศษ(ค่าจ้างติดดาว) (4) ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างขั้นสูงของอันดับหรือตำแหน่ง ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนเพิ่ม 8% ของอัตราเงินเดือนฯ -หากได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างขั้นสูงของอันดับหรือตำแหน่งและได้รับเงินตอบแทนพิเศษตามระเบียบ พ.ศ. 2544 และได้ปรับเงินเดือนหรือค่าจ้างแล้วให้ได้รับเงินค่าตอบแทนเพิ่ม8 % ของอัตราเงินเดือนหรือค่าจ้างที่ถึงขั้นสูง -หากพ้นหรือเลื่อนอันดับหรือตำแหน่ง ให้งดจ่ายเงินค่าตอบแทน

  31. ระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของ ข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ผู้มีสิทธิ • ข้าราชการพลเรือน • ข้าราชการทหาร ไม่รวมถึงนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหมและทหารกองประจำการ • ข้าราชการตำรวจไม่รวม พลตำรวจสำรอง • ลูกจ้างประจำ • 31

  32. เกณฑ์การจ่าย เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว พชค. ชั่วคราว เพิ่มขึ้นจากค่าจ้างจนถึง 15,000 บาท ระดับปริญญาตรี ขึ้นไป เงินเดือน ไม่ถึง 15,000 บาท ต่ำกว่าปริญญาตรี เงินเดือนไม่ถึง 12,285 บาท พชค. ชั่วคราว เดือนละ 1,500 บาท แต่เมื่อรวมกับค่าจ้างแล้วต้องไม่เกินเดือนละ 12,285 บาท ต่ำกว่าปริญญาตรีเงินเดือนไม่ถึง 9,000 บาท พชค. ชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากค่าจ้างอีกจนถึง เดือนละ 9,000 บาท • 32

  33. เกณฑ์การเลื่อน เงินเดือนข้าราชการ

  34. ภาพรวมของระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กำหนดโดยพิจารณาความสำเร็จของงานและ ตกลงกันระหว่างผู้ปฏิบัติ และผู้บังคับบัญชา โดยอ้างอิงจากข้อกำหนดสมรรถนะซึ่งประกาศโดยส่วนราชการ และ ก.พ. โดยอ้างอิงจากข้อกำหนดของ ส่วนราชการ องค์ประกอบ ผลสัมฤทธิ์ของงาน ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย องค์ประกอบ พฤติกรรม สมรรนะ องค์ประกอบอื่นๆ (ขึ้นอยู่กับส่วนราชการ) คะแนน ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน คะแนน ประเมิน สมรรถนะ คะแนน ประเมิน ปัจจัยอื่นๆ >=70%* คะแนนผล การ ปฎิบัติงาน พิจารณาเลื่อนเงินเดือน แจ้งผลการปฏิบัติงาน และปรึกษาหารือถึง การพัฒนาปรับปรุง สำหรับข้าราชการผู้อยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการใช้สัดส่วน 50:50 เป็นเวลา 2 ช่วงการประเมินติดต่อกัน

  35. ตัวอย่างการกำหนดเกณฑ์วัดผลงานตัวอย่างการกำหนดเกณฑ์วัดผลงาน ในการคิดตัวชี้วัด ควรคิดเพื่อให้ได้ครบทั้งขั้นตอนการทำงาน ผลสัมฤทธิ์ RESULTS ภารกิจ ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUTS กระบวน การ PROCESSES ผลลัพธ์ OUTPUTS ผลงาน OUTCOMES จัดทำเครื่องมือ ความคุ้มค่า ความประหยัด ความครบถ้วน ความตรงเวลา ความมีประสิทธิภาพ ความมีส่วนร่วม จำนวน คุณภาพ ผลกระทบ

  36. ร้อยละ (PERCENTAGE) อัตราส่วน (R A T I O) สัดส่วน (PROPORTION) อัตรา (R ATE) ค่าเฉลี่ย (AVERAGE or MEAN) จำนวน (N U M B E R) ตัวอย่างการกำหนดเป้าหมายผลงาน มีการกำหนดเกณฑ์ในการวัดได้หลายรูปแบบ เช่น ดุลยพินิจทั่วไป • ผลตอบรับโดยรวมเกี่ยวกับความพึงพอใจหรือคุณภาพ เป็นต้น เช่น คุณภาพของผลผลิต (ดีและดีมาก) เกณฑ์ที่เป็นระดับขั้น • ระดับของความพึงพอใจ ระดับของความสำเร็จของกิจกรรมหรืองานที่มีการจำกัดความโดยเรียงลำดับจากต่ำไปสูง (เช่น 1-5) สัดส่วน/อัตรา/ค่าเฉลี่ย • ผลการปฏิบัติงานจริงเปรียบเทียบกับโอกาสที่มีอยู่ เช่น % ของส่วนแบ่งตลาด # ยอดขาย # ยอดการโทร ปริมาณที่นับได้โดยตรง - ผลลัพธ์ที่ได้ในรูปตัวเลขจริง เช่น ยอดขาย ร้อยละของความพึงพอใจ มาตรวัดผลการปฏิบัติงาน ตัวอย่างค่าของตัวชี้วัด

  37. Competency Model: การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Proactiveness) การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) บริการที่ดี (Service Mind) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) การทำงานเป็นทีม (Teamwork)

  38. การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation- ACH) ข้อมูลจากสำนักงาน ก.พ.

  39. การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation- ACH) ข้อมูลจากสำนักงาน ก.พ.

  40. การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation- ACH) ข้อมูลจากสำนักงาน ก.พ.

  41. ตารางแสดงระดับสมรรถนะที่ต้องการในแต่ละตำแหน่งงาน/สายงานตารางแสดงระดับสมรรถนะที่ต้องการในแต่ละตำแหน่งงาน/สายงาน หมายเหตุ: 1) ยึดตามต้นแบบสมรรถนะหลักที่ทางสำนักงาน ก.พ. กำหนด 2) ยึดตามต้นแบบสมรรถนะประจำผู้บริหารที่ทางสำนักงาน ก.พ. กำหนด 3) ความรู้ และทักษะที่ทาง สำนักงาน ก.พ. บังคับใช้ ให้ยึดระดับตามที่ทางสำนักงาน ก.พ. กำหนด ส่วนความรู้ และทักษะอื่นๆ ที่นอกเหนือจากที่สำนักงาน ก.พ. บังคับให้ยึดระดับตามสมรรถนะประจำสายงาน * Level3: เฉพาะ  วิสัยทัศน์, การวางกลยุทธ์ภาครัฐ, ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน

  42. วิธีการประเมินสมรรถนะมีได้หลายแนวทางได้แก่วิธีการประเมินสมรรถนะมีได้หลายแนวทางได้แก่ การประเมินแบบการทดสอบ การประเมินการสังเกต เช่น แบบ 360 องศา หรือต่ำกว่า 360 องศา โดยจะเป็นการพิจารณาจากการสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกซึ่งสามารถประเมินโดยเทียบกับ Scales ซึ่งมีได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ การประเมินด้วย Bar การประเมินด้วย Rating Scale การประเมินแบบ Hybrid แนวทางในการประเมินสมรรถนะ

  43. กระบวนการประเมินสมรรถนะ (ต่อ) ให้ใส่ระดับเป้าหมายลงไป ให้ใส่ผลคะแนนที่ประเมินลงไป นำผลคะแนนคูณกันระหว่าง ก และ ข

  44. กระบวนการประเมินสมรรถนะ (ต่อ) ผู้ถูกประเมินสามารถให้ระดับผลการประเมินในช่องผลการประเมิน จากนั้นจึงให้คะแนนผลการประเมินซึ่งจะมีเกณฑ์ ดังนี้ หากมีกำหนดเป้าหมายที่ระดับ 1 ของทุกสมรรถนะหลักที่เลือก จากผลการประเมิน • ทำได้ระดับที่ 1 : ได้ 4 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 2 : ได้ 5 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 3 : ได้ 5 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 4 : ได้ 5 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 5 : ได้ 5 คะแนน หากมีกำหนดเป้าหมายที่ระดับ 2 ของทุกสมรรถนะหลักที่เลือกจากผลการประเมิน • ทำได้ระดับที่ 1 : ได้ 3 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 2 : ได้ 4 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 3 : ได้ 5 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 4 : ได้ 5 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 5 : ได้ 5 คะแนน หากมีการกำหนดเป้าหมายที่ระดับ 3 ของทุกสมรรถนะหลักที่เลือกจากผลการประเมิน • ทำได้ระดับที่ 1 : ได้ 2 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 2 : ได้ 3 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 3 : ได้ 4 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 4 : ได้ 5 คะแนน • ทำได้ระดับที่ 5 : ได้ 5 คะแนน

  45. ให้ข้อมูลโดยอาจสรุปเรื่องและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อบุคคลหรือหน่วยงานให้ข้อมูลโดยอาจสรุปเรื่องและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อบุคคลหรือหน่วยงาน กระบวนการประเมินสมรรถนะ (ต่อ) ใส่เหตุการณ์และข้อมูลเพื่อยืนยันระดับที่ประเมิน ใส่ชื่อสมรรถนะหลัก ใส่ชื่อสมรรถนะหลัก ใส่ชื่อสมรรถนะหลัก ใส่ชื่อสมรรถนะหลัก

  46. กระบวนการประเมินสมรรถนะ (ต่อ) • ในกรณีที่เกิดช่องว่าง (Gap) ระหว่างคุณสมบัติที่ผู้ดำรงมีกับสมรรถนะที่ตำแหน่งต้องการให้นำสมรรถนะเหล่านั้นมาเตรียมพัฒนา หรือในกรณีที่มีครบทุกตัวให้เลือกสมรรถนะบางตัวมาพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ตำแหน่งในระดับถัดไป

  47. ระดับการเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการระดับการเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ

  48. บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่งประเภทบริหาร

  49. บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่งประเภทอำนวยการ

  50. บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญบัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่งประเภทวิชาการ

More Related