610 likes | 1.17k Views
แผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข จงรัก อินทร์เสวก หัวหน้าฝ่ายแผน ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด(ศพส.สธ.). ๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น
E N D
แผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข จงรัก อินทร์เสวก หัวหน้าฝ่ายแผน ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด(ศพส.สธ.)
๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น ๒. มีผู้ลักลอบผลิตยาเสพติด เพราะสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้าหาได้ง่าย ๓. มีการแพร่ระบาดของยาบ้าอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเชื้อโรค ๔. ยาบ้ามีทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียน หรือในวัด ๕. ผู้ผลิตยาเสพติด และผู้ขายกำลังทำตนเป็นฆาตกร ฆ่าลูกหลานไทยอย่างเลือดเย็น ๖. ครอบครัวปล่อยให้ลูกหลานติดยา โดยไม่พาไปรักษา ต้องให้เวลา ให้กำลังใจในการฟื้นฟูลูกหลานที่ติดยา จากพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดุสิตดาลัย พระตำหนักจิตลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔
ฐานข้อมูล สถานการณ์ความรุนแรงปัญหายาเสพติด จากผลการสำรวจ ปี 2547-2554 ที่มา : การสำรวจของ ABAC
ความพึงพอใจของประชาชน ปี 2546 - ปัจจุบัน
ประมาณการผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทยประมาณการผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทย จากการสำรวจและประมาณการทางวิชาการ ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทย มีประมาณ 1.2 ล้านคน คิดเป็นอัตราส่วน 19 : 1,000 ประชากรอัตราที่ยอมรับไม่เกิน 3 : 1,000
ลดความรุนแรงของปัญหายาเสพติดลงทุกด้าน 80% ภายใน 1 ปี จนไม่กระทบความเดือดร้อนของประชาชน
ตัวชี้วัด :ลดความรุนแรงของปัญหายาเสพติดลงทุกด้าน 80% ภายใน 1 ปี จนไม่กระทบความเดือดร้อนของประชาชน เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านยาเสพติด ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้ความสำคัญกับมาตรการ ดังต่อไปนี้ ๑. ดำเนินการให้มีมาตรการกำกับและควบคุมตัวยา สารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์ที่นำมาใช้ในการ ผลิตยาเสพติดอย่างเข้มงวดและทันสถานการณ์ ๒. ดำเนินการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพยาเสพติดในชุมชนให้ครอบคลุม โดยให้โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่งให้ สามารถดูแลผู้เสพ/ ผู้ติดยาเสพติดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้การบำบัดรักษาได้ทุกที่ใกล้บ้าน รวมถึงการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างครบวงจร ๓. สร้างภูมิต้านทานให้กับเยาวชนกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับการเสพยาเสพติด ลดผู้เสพ ผู้ติด รายใหม่โดยมีโครงการ To Be Number One เป็นมาตรการสำคัญ ๔. ให้อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) ทำหน้าที่ในการติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการ บำบัดรักษาอย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในชุมชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยยาเสพติดได้รับการดูแลที่ดี คืนบุตรหลานสู่อ้อมอกของ พ่อแม่/ครอบครัว คืนคนดีสู่สังคม คืนความสงบสุขสู่ชุมชนต่อไป
ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดกระทรวงสาธารณสุข การป้องกันและแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด(Demand) การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด(Potential Demand) การบริหารจัดการ (Management) การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด(Supply) ยุทธศาสตร์การควบคุม ตัวยาและสารเคมี ยุทธศาสตร์การบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกัน ยุทธศาสตร์การบูรณาการในพื้นที่
ผลการดำเนินงาน ด้านการบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติด ยาเสพติด ปีงบประมาณ 2555 (1 ต.ค. 54 – 24 ส.ค. 55) ที่มา : ศพส.ชาติณ วันที่ 24 สิงหาคม 2555
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา จำแนกตามระบบบำบัด ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554 – 24 ส.ค. 2555 ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน ศพส.
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ระบบสมัครใจ ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554 – 24 ส.ค. 2555 ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน ศพส.
ผลการดำเนินงานด้านบำบัดฯระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554–24 ส.ค. 2555 2. จำนวน1 อำเภอ 1 ศูนย์ฟื้นฟู /ค่ายบำบัดในชุมชน (เป้าหมาย 928 แห่ง) ดำเนินการแล้วจำนวน 1,324 แห่ง 3. จำนวนวิทยากรทีมบำบัดประจำอำเภอ ดำเนินการแล้ว 23,359 คน
ผลการดำเนินงานด้านบำบัดฯ ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2554–24 ส.ค. 2555 จังหวัดที่จัดทำค่ายพลังแผ่นดิน มากที่สุด 10 อันดับของประเทศ
การอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) เชี่ยวชาญยาเสพติด • เพื่อการติดตามและเฝ้าระวัง (เป้าหมาย 156,966 คน) • ดำเนินการอบรมโดยใช้งบประมาณจาก กสธ. ไปแล้ว 57 จังหวัด จำนวนทั้งสิ้น 116,186 คน (คิดเป็น 74.02% ของเป้าหมายทั้งหมด)
การติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดฯ • เพื่อไม่ให้กลับไปเสพติดซ้ำ ไม่น้อยกว่า 80% (เป้าหมาย 320,000 คน) 1. จำนวนศูนย์ติดตาม ช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดฯอย่างครบวงจร 2,374 แห่ง 2. จำนวนผู้ผ่านการบำบัดที่มีรายชื่อเข้าสู่ระบบติดตามดูแลช่วยเหลือ 231,587 คน 3. จำนวนผู้ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตาม (บสต.5 ครั้งที่ 1) 195,814 คน (คิดเป็น 84.55 % ของผู้ผ่านการบำบัดที่มีรายชื่อเข้าสู่ระบบติดตามทั้งหมด) 4. การดูแลช่วยเหลือ ฟื้นฟูและพัฒนาผู้ผ่านการบำบัด - การศึกษา 25,410 คน - ฝึกอาชีพ 47,949 คน - จัดหางานให้ทำ 26,273 คน - ให้ทุนประกอบอาชีพ 11,184 คน
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัด จำแนกรายภาค
ผลการบำบัดฯ จำแนกรายภาคคิดจากสัดส่วนเทียบกับเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษาทุกระบบบำบัด 10 อันดับแรก ทั้งประเทศ
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา เฉพาะระบบสมัครใจ 10 อันดับแรก ทั้งประเทศ
จำนวนจังหวัดที่มีผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ทั้งประเทศ
ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามการเข้ารับการบำบัดฯ
ดัชนีความสำเร็จการบำบัด/ฟื้นฟูสมรรถภาพ ( 1 ต.ค. 2554 – 15 ก.ค. 2555) ที่มา : จากข้อมูลจากระบบรายงาน บสต. ณ วันที่ 18 กรกฏาคม 2555
การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด(Supply)การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด(Supply) ยุทธศาสตร์การควบคุมตัวยาและสารเคมี เป้าประสงค์ : - ควบคุมไม่ให้มีการผลิต / การนำเข้า / การค้า /การแพร่ระบาดของยาเสพติด และสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเสพติด - เฝ้าระวังไม่ให้มีตัวยาชนิดใหม่แพร่ระบาด เจ้าภาพหลัก : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (สนับสนุน)
ตัวชี้วัดด้านการควบคุมตัวยาและสารเคมี ตัวชี้วัด • ร้อยละของสถานประกอบการที่ดำเนินการถูกต้องตาม กฎหมาย ๙๗% ข้อมูล : สำนักงาน อ.ย. ณ วันที่ ๑๕ ก.ค.๒๕๕๕
การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด (Potential Demand) ยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกัน เป้าประสงค์ : - ป้องกันเด็ก เยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา และ ผู้ใช้แรงงานไม่ให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด เจ้าภาพหลัก : กรมสุขภาพจิต
ยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกันยุทธศาสตร์การปลุกพลังแผ่นดินและการป้องกัน ยุทธศาสตร์ย่อย : ๑. การรณรงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โครงการ TO BE NUMBER ONEในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ๒.การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชน(Generation Y) ๓.การสร้างและพัฒนาระบบเครือข่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัดด้านการป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปใช้ยาเสพติด ตัวชี้วัด • จำนวนสมาชิกโครงการ To Be Number One • = 39,557,039 ราย • 2. จำนวนชมรม To Be Number One • = 328,740 แห่ง • 3. จำนวนศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น • = 9,172 แห่ง ข้อมูล : สำนักงาน TO BE NUMBER ONE ณ วันที่ ๑๕ ก.ค.๒๕๕๕
ระดับความสำเร็จในการดำเนินการโครงการ TO BE NUMBER ONE ของจังหวัด ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน แบ่งเป็น ๕ ระดับ ดังนี้ระดับที่ ๑ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและคณะกรรมการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนระดับที่ ๒ มีแผนปฏิบัติการที่ระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย งบประมาณและแหล่งงบประมาณ ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนระดับที่ ๓ มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการที่ระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลา เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนและมีการจัดสรรงบประมาณในแต่ละหน่วยงาน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ระดับที่ ๔ มีจำนวนสมาชิก TO BE NUMBER ONE อายุ ๑๐-๒๔ ปี ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ระดับที่ ๕ มีศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นที่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า ๒ แห่ง ต่ออำเภอ (มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ต้องดำเนินการ ดังนี้ ๑)มีการให้บริการครบ ๓ กิจกรรม ได้แก่ การให้คำปรึกษา การพัฒนา EQและการจัดกิจกรรมสร้างสุข ๒)การให้บริการโดยอาสาสมัครตามตารางให้บริการ ๓)มีผู้มาใช้บริการอย่างน้อย ๕๐ คน/เดือน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
จากโรคสมองติดสารเคมีสู่ “การจัดการดูแลรักษาอย่างองค์รวม”Brain Addiction Disease to Managed Care
ภาพถ่ายรังสีคอมพิวเตอร์ของสมองในระยะต่างๆของการติดยาภาพถ่ายรังสีคอมพิวเตอร์ของสมองในระยะต่างๆของการติดยา สมองปกติ สมองผู้เสพยา สมองผู้ติดยา สมองที่ได้รับ การบำบัด
Brain Addiction Disease(BAD)!!! Addiction = Chaos Managed Care
สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ใช้ยาเสพติดสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ใช้ยาเสพติด การได้รับการยอมรับ ความทุกข์ เข้าพวกเข้ากลุ่ม ความสนุกสนาน ความเจ็บปวด หาความสุขใส่ตัว ใช้ยาเสพติดเป็นทางลัด เป็นเพื่อนที่ซื่อสัตย์ สร้างความสุขทดแทน เติมเต็มการยอมรับทางสังคมและการดำรงชีวิต
การบำบัดรักษาในปัจจุบันการบำบัดรักษาในปัจจุบัน เพื่อให้หยุดใช้ยา โดยการใช้เครื่องมือบำบัดดูแลรักษา . หว่านหมด . เป็นเสื้อโหล . ขาดการประเมินคัดกรอง . ไม่สอดคล้องกับพื้นฐานการเลี้ยงดู เรารักษาเพียงตัวยา ไม่ได้รักษาความเป็นคนของเขา นำไปสู่ Pre-Admission Assessment = Human Assessment
การติดตามดูแลช่วยเหลือการติดตามดูแลช่วยเหลือ • ให้รู้สึกเป็นมิตร • ชุมชน • ครอบครัว ต้องเรียนรู้ พยาธิสภาพ กระบวนการดูแลไม่ให้ติดซ้ำ
ปรับบทบาทจาก ป.ป.ช./ควบคุมภายใน = ตรวจสอบ จับผิด กระบวนการติดตามดูแลช่วยเหลือ 1.ครอบครัว กัลยาณมิตร = เอาใจใส่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลรักษาได้ จาก “อวิชชา” วิชชา 2.ชุมชน - ต้องรู้ เข้าใจ เรื่องโรคของการติดยา และกระบวนการดูแลช่วยเหลือ ให้เขากลับมามีที่ยืนในสังคม ชุมชน การติดยาเป็นโรคที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันของ ครอบครัวและชุมชน
(2) 1 ครอบครัว 1 ป้องกันบำบัดรักษา ทิศทางการแก้ไขปัญหายาเสพติด (1) Pre – Admission Period (3) 1 หมู่บ้าน 1 ศูนย์ติดตาม
สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่าสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่า “ คนที่ติดยาเขาเป็นคนหรือเปล่าในเมื่อเขาเป็นคน...เรามีการช่วยเหลือเขาได้ไหมถ้าช่วยเหลือเขาได้เท่ากับชุบชีวิตใหม่ให้เขา...เราก็ควรทำ ”