1 / 28

ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน

ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน. โดย นายแพทย์ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กรอบการนำเสนอ. - สถานการณ์ด้านสุขภาพ - การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ในต่างประเทศ - นโยบายแห่งชาติ : ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย - การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน

eddy
Download Presentation

ยุทธศาสตร์ การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน โดย นายแพทย์ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

  2. กรอบการนำเสนอ - สถานการณ์ด้านสุขภาพ - การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ในต่างประเทศ - นโยบายแห่งชาติ : ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย - การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ประเทศไทย

  3. http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdfhttp://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าในปี 2548 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากโรควิถีชีวิต 35 ล้านคน หรือ ร้อยละ 60 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด 58 ล้านคน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าในปี 2558 จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าว เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 หรือประมาณ 38.8 ล้านคน

  4. http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdfhttp://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf

  5. Projected Main Causes of Death, Worldwide, All Ages, 2005 NORDIC FOOD WEEK 19.9.2007

  6. Incidence Rate of Chronic Disease among Thai people by year, 1994-2006 per 100,000 Year Source : In patient report. Bureau of Policy and Strategy MOPH,Thailand,2006

  7. ความดันโลหิตสูงภาวะน้ำหนักเกินความดันโลหิตสูงภาวะน้ำหนักเกิน • ไขมันในเลือดสูงการไม่ทานผักผลไม้ • การไม่ออกกำลังกาย เป็น 5 ใน 10 อันดับแรกของปัจจัยเสี่ยง ที่ทำให้คนไทยเจ็บป่วย และเสียชีวิต ซึ่งมีต้นเหตุหลักคือ การบริโภค และการใช้แรงกาย :ผลสำรวจภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยงของคนไทยพ.ศ.2547 Source: Thai Working group on Burden of Disease. (2007) Burden of disease and injury in Thailand 2004. International Health Policy Program. Bureau of Policy and Strategy. Ministry of Public health.

  8. Prevalence of Metabolic syndrome Source : Nutrition Division, Department of Health (sample: n=1737, sedentary employee group, age>30 yrs.)

  9. ตัวอย่างการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในต่างประเทศตัวอย่างการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในต่างประเทศ

  10. สิงคโปร์ จัดให้มีโครงการ Trim and Fit (TAF)ในโรงเรียน ทั่วประเทศ ภายใต้ความร่วมมือของกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข ผลการดำเนินงาน : ลดความชุกของโรคอ้วนจากร้อยละ 14 เหลือร้อยละ 10 ในปี 2003 และเพิ่มความแข็งแรงของร่างกายในเด็กนักเรียน

  11. สหรัฐอเมริกา

  12. ฟินแลนด์ Information Public Policy Participation R&D “The FINAMI Study”

  13. per 100 000 North Karelia All Finland CHD mortality in all Finland and in North Karelia35-64 year old men

  14. Coronary heart disease mortality explained by risk factors in FinlandMen aged 35-64 Vartiainen E et al. BMJ 1994

  15. MI and Stroke registers in KTL “The FINAMI Study” • Specific MI and Stroke registers • FINMONICA MI and stroke registers 1983-92 • FINAMI register 1993-2002 • FINSTROKE register 1993-1997 • Planned for research: standardized data, established QC procedures, accurate and reliable results • Expensive and laborious to maintain, cannot cover the whole country and all age groups

  16. ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (Thailand Healthy Lifestyle Strategy)

  17. ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย(Thailand Healthy Lifestyle Strategy) ยุทธศาสตร์ 1 Healthy Public Policy ยุทธศาสตร์ 2 Social Communication ยุทธศาสตร์ 3 Community based program ยุทธศาสตร์ 4 Care & Surveillance ยุทธศาสตร์ 5 Building Capacity

  18. ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง & ความพอเพียง ปัจจัยเอื้อต่อการมีสุขภาพดีที่พอเพียง เข้าถึงได้ ราคาเหมาะสม มีคุณภาพมาตรฐาน “อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สภาพแวดล้อม ทางกายภาพและสังคม ระบบบริการสุขภาพ” พอประมาณ การดำรงชีวิต การดำเนินธุรกิจ การค้า การสร้างนโยบายสาธารณะอยู่ บนพื้นฐานทางวิชาการ ประหยัด และคุ้มค่า “การคำนึงถึงประสิทธิผล- ประสิทธิภาพ-ผลกระทบต่อสุขภาพ” ขีดความสามารถในการลด เสี่ยงโรคและภัยคุกคามสุขภาพ “การประเมินตนเอง ระบบเฝ้าระวัง ตระหนักรู้ถึงภาวะเสี่ยง การประเมิน และบริหารจัดการความเสี่ยงและภาวะวิกฤต” มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขความรู้-หลักวิชา เงื่อนไขชีวิต - การบริหารจัดการข้อมูล และความรู้ - คู่มือการปฏิบัติ แบบอย่างที่ดี - การสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปัน - การพัฒนาศักยภาพการวางแผน ติดตาม ประเมินผล วิจัยพัฒนา และบริหารจัดการ - ความเชื่อถือศรัทธาไว้วางใจ (เปิดเผย โปร่งใส ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ) - ข้อตกลง และพันธสัญญาร่วม - ข้อพึงปฏิบัติ ข้อบังคับ และกฎหมาย - วิถีชีวิต ค่านิยม วัฒนธรรมที่เหมาะสม - การมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง และสุขภาวะของชุมชนและสังคม บริโภคเหมาะสม - ออกกำลังกายเพียงพอ - พลังงานและน้ำหนักสมดุล ลดการเกิดโรค , ลดภาวะแทรกซ้อน , ลดการตาย , ลดภาระค่าใช้จ่าย เบาหวาน , ความดันโลหิตสูง , หัวใจ , หลอดเลือดสมอง , มะเร็ง

  19. ตามแผนบริหารราชการแผ่นดินกรมอนามัย กำหนดการดำเนินงานเป็น 7 ประเด็นยุทธศาสตร์

  20. การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนประเทศไทยการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนประเทศไทย

  21. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุงยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง 1. Individual approach DPAC (Diet Physical Activity Clinic) 2.Community approach HPP (Healthy Public Policy)

  22. Community intervention model Commnity organization -mass media -health services -other org. -industry; business -legislation Population -knowledge -motivation -skills -social support -environment support Opinion leaders influence Change in health behavior and risk factors Early adopters diffusion External Project Input action maintenance Changes in disease rates and health Community Approach

  23. กรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกินกรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - ขาดการออกกำลังกาย ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพพันธุกรรมทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม Energy in (+) ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก

  24. แนวทางการขับเคลื่อน “คนไทยไร้พุง” 1. มุ่งสร้างกระแสสังคมต่อเนื่องให้เข้มข้นขึ้น 2. ส่งเสริมให้เกิดองค์กรไร้พุง 3. สร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อลดพุง 4. สนับสนุนให้ท้องถิ่นเป็นเจ้าภาพ (key actor)

  25. ผลการดำเนินงานนโยบายสาธารณะในระดับพื้นที่Healthy Public Policy (HPP) 1.สิงห์บุรี การขี่จักรยาน / Healthy meeting “กินผลไม้ทุกวัน” ทุกจันทร์ พุธ และศุกร์ เดินรอบสสจ.เวลา 15.30น.” 2.ชุมพร การออกกำลังกาย /มี อสม.เข้มแข็ง จุดเด่นคือ ใช้ KM ทุกพื้นที่ 3.เพชรบุรี มีการปลูกผักปลอดสารพิษและแลกผักกัน ลดอาหารขบเคี้ยวในเด็กวัยเรียน มี บัดดี้ตรวจสอบกันเอง มีการสัญจรเพื่อ ลปรร 4.ฉะเชิงเทรา เน้น 3 อ. คิดปัญหา คัดเลือกกิจกรรมมีการประเมิน กองพลที่ 11 มีนโยบายกองทัพให้ใส่รองเท้ากีฬา 5.ลำปาง วันอังคาร คนเมืองปานงดกินหวาน ชวนบัดดี้ออกกำลังกายบ่ายสามโมงทุกวัน “ชวนกันกินอาหารพื้นเมือง” “โรงเรียนเทศบาลปลอดน้ำอัดลม” วิธีการใช้ KM ในการค้นหา HPP 6.กาฬสินธุ์ สนับสนุนเรื่อง การออกกำลังกายเกือบทั้งจังหวัด / การปลูกผักปลอดสารพิษ ตรวจสุขภาพจนท.

  26. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553 ของกรมอนามัย 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. ระดับประชาชน (Valuation) 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำ คนไทยไร้พุงต้นแบบ 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง 14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 11.องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีนโยบาย มาตรการทางสังคม กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ 12. ชุมชน องค์กร/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง ระดับภาคี (Stakeholder) 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสาน งานภาคีเครือข่าย 7. มีระบบเฝ้าระวังระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (Management) 4. มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 26 1.วัฒนธรรมที่ดี

  27. กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"

More Related