260 likes | 471 Views
การดำเนินงานคู่เครือข่าย ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน. สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute ( CAMRI ) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. สภาพปัญหา การทำงานของหน่วยงานดูแลเด็กและวัยรุ่น. ศึกษาธิการ. สาธารณสุข. โรงเรียน. รพศ. รพท.
E N D
การดำเนินงานคู่เครือข่ายระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนการดำเนินงานคู่เครือข่ายระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สภาพปัญหา การทำงานของหน่วยงานดูแลเด็กและวัยรุ่น ศึกษาธิการ สาธารณสุข โรงเรียน รพศ. รพท. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่เข้มแข็ง รพช. รพ.จิตเวช • คลินิกตามโรค ขาดการ • บูรณาการด้าน กาย จิต สังคม ของวัยรุ่น • ศูนย์พึ่งได้(OSCC) • - ขาดคลินิกวัยรุ่น -งานบริการสุขภาพ จิตเด็กและวัยรุ่นยังไม่บูรณาการ ........ .......... .......... ........ Friend Corner 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล 2.คัดกรอง 3.ส่งเสริมพัฒนา YC 4.ป้องกันแก้ไข 5.ส่งต่อ
กรอบแนวคิดการสร้างและพัฒนาคู่เครือข่ายการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบแนวคิดการสร้างและพัฒนาคู่เครือข่ายการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
โครงการ ศธ. สธ. ร่วมใจเทิดไท้องค์ราชัน ลดโรค เพิ่มสุข วัยรุ่น - 1รร.1รพ. ศึกษาธิการ สาธารณสุข ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จัดบริการ คลินิกวัยรุ่น ระบบส่งต่อ โครงสร้าง อัตรากำลัง พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา โรงเรียน 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล 2.คัดกรอง(SDQ) 3.ส่งเสริมพัฒนา Friend Corner 4.ป้องกันแก้ไข 5.ส่งต่อ เครือข่ายผู้ปกครอง YC
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานร่วมกับโรงเรียนในพื้นที่แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานร่วมกับโรงเรียนในพื้นที่ • ความประทับใจจากการทำงานร่วมกับโรงเรียนในพื้นที่ • การดำเนินงานต่อเนื่อง
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1.รู้จักนักเรียนรายบุคคล 2. คัดกรองนักเรียน มีปัญหา ปกติ เสี่ยง 3. ส่งเสริม 4. ป้องกัน/ช่วยเหลือ อาการ/พฤติกรรม ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น 5. ส่งต่อ
กระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบมีขั้นตอนชัดเจน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกสถานศึกษา มีวิธีการเครื่องมือที่มีมาตรฐาน คุณภาพและมีหลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กระบวนการและขั้นตอน ของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน • การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล • การคัดกรอง • การพัฒนา และส่งเสริมนักเรียน • การป้องกันและแก้ไขปัญหา • การส่งต่อนักเรียน
กระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนกระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การรับรู้ข้อมูลด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนอย่างครบถ้วน เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ มิใช่การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดา ได้แก่ • ด้านความสามารถ (การเรียน, ความสามารถอื่นๆ) • ด้านสุขภาพ (ร่างกาย, จิตใจ, พฤติกรรม) • ด้านครอบครัว (เศรษฐานะ, การคุ้มครองนักเรียน) • ด้านยาเสพติด • ด้านความปลอดภัย • ด้านอื่นๆ เช่น ด้านเพศ ด้านการเล่นเกม เป็นต้น
กระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนกระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน วิธีการและเครื่องมือในการรู้จักนักเรียน • ระเบียนสะสม • แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (Strengths andDifficulties Questionnaire) • การเยี่ยมบ้าน
แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนแบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (Strengths andDifficulties Questionnaire) • พัฒนาโดย Robert Goodman กรมสุขภาพจิตได้เพิ่มขั้นตอนการแปลและศึกษาค่าเกณฑ์เฉลี่ยในเด็กไทย จำนวน 25 ข้อคำถาม แบ่งหมวดพฤติกรรม ได้แก่ • พฤติกรรมเกเร • พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง • ปัญหาทางอารมณ์ • ปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อน • พฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม
กระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนกระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การคัดกรอง เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำมาจำแนกตามเกณฑ์การคัดกรอง ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล คัดกรอง กลุ่มปกติ นักเรียนไม่มีพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาและส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน กลุ่มเสี่ยง นักเรียนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติ เช่น เก็บตัว การแสดงออกเกินขอบเขต ทดลองสิ่งเสพติด ผลการเรียนเปลี่ยนแปลงในทางลบ เป็นต้น กลุ่มมีปัญหา นักเรียนที่มีพฤติกรรมปัญหาชัดเจน มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตประจำวัน ทั้งต่อตนเองและสังคม
กระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนกระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การพัฒนาส่งเสริมนักเรียน เป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีความภาคภูมิใจในตนเองในด้านต่างๆ มีกิจกรรมหลักสำคัญ คือ • การจัดกิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) • การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom Meeting)
กระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนกระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การป้องกันและแก้ไขปัญหา เป็นกระบวนการใช้เทคนิค ทักษะต่างๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ถือเป็นการช่วยเหลือนักเรียน ในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มมีปัญหา เพื่อป้องกัน แก้ไขไม่ให้ปัญหานั้นซับซ้อนยิ่งขึ้น
กระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนกระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมการช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา • การให้การปรึกษาเบื้องต้น • การปรับพฤติกรรมด้วยกิจกรรมในชั้นเรียน • เพื่อนช่วยเพื่อน • การสื่อสารกับผู้ปกครอง • การจัดกิจกรรมซ่อมเสริม • การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร • การจัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน • อื่นๆเช่นCase Conference,Youthcouselor ฯลฯ
กระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนกระบวนการและขั้นตอนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การส่งต่อ กรณีที่บางปัญหามีความยุ่งยากซับซ้อน หรือช่วยเหลือแล้วนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ดีขึ้น ควรดำเนินการส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อไป • การส่งต่อภายใน • การส่งต่อภายนอก
แนวทางบูรณาการการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระหว่างสถานศึกษาและสถานบริการสาธารณสุข สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางบูรณาการการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระหว่างสถานศึกษาและสถานบริการสาธารณสุข กิจกรรมสนับสนุนสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา ศึกษา/วิเคราะห์ความต้องการ กำหนดสื่อ/ขอบเขตการถ่ายทอดความรู้ วางแผนการดำเนินการสนับสนุน ปฏิบัติการสอดคล้องกับสถานศึกษา สรุป/ประเมินผล
การสร้างมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการกำหนดยุทธศาสตร์ แผนการดำเนินงานกิจกรรมสานประโยชน์ การประสานงานและการประเมินผลร่วมกันระหว่างคู่เครือข่าย คณะกรรมการคู่เครือข่าย วิเคราะห์สถานการณ์ วิเคราะห์ศักยภาพของเครือข่าย กำหนดกิจกรรมดำเนินงานในลักษณะเครือข่าย จัดสรรประสานทรัพยากร ดำเนินงาน ไม่ผ่าน ติดตาม ประเมินผล ผ่าน สรุปรายงาน
ปัจจัยส่งเสริมประสิทธิภาพของคู่เครือข่ายปัจจัยส่งเสริมประสิทธิภาพของคู่เครือข่าย • การจูงใจ (Motivation) • การประสานงาน (Coordinating) • การมีส่วนร่วม (Participation)
การสร้างแรงจูงใจในการดำเนินงาน และความเข้มแข็งของทีมงาน คณะกรรมการดำเนินงานเครือข่าย • ประกาศนโยบาย • สร้างความเข้าใจ • เสริมขวัญกำลังใจ • ติดตามความก้าวหน้า สร้างแรงจูงใจ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของทีมงาน • พัฒนาศักยภาพทีมงาน • สร้างสัมพันธภาพระหว่างทีมงาน • เพิ่มประสิทธิภาพการประสานงาน ไม่มี การมีส่วนร่วม มี ทีมงานเข้มแข็ง
แนวทางการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนของคู่เครือข่ายแนวทางการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนของคู่เครือข่าย สาธารณสุข ผู้ปกครอง สถานศึกษา ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือรู้จักนักเรียนรายบุคคล รู้จักนักเรียนรายบุคคล ให้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล คัดกรองนักเรียน ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือคัดกรองนักเรียน ให้การปรึกษา/ร่วมกิจกรรม ส่งเสริม ป้องกัน และช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ครูที่ปรึกษา ปกติ เสี่ยง/มีปัญหา ร่วมส่งเสริมพัฒนาและดูแลช่วยเหลือนักเรียน ส่งเสริม ป้องกัน/ช่วยเหลือ ให้การปรึกษาและร่วมประชุมปรึกษารายกรณี ในกรณีปัญหายุ่งยากซับซ้อน อาการ/พฤติกรรม ส่งต่อ รับการส่งต่อ และบำบัดรักษา ติดตามประเมินผล สรุปรายงาน
การประเมินผลการสร้างคู่เครือข่ายการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
กระบวนการประเมินผล วิเคราะห์เป้าหมายการดำเนินงาน • ประเด็นการประเมินตัวชี้วัด • Context • Input • Process • กำหนดกรอบการประเมินผล • Output • Outcome • Impact สร้างแบบรายงาน รวบรวม/การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สรุปผล
Thank you for Attention สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข