1 / 28

ทันตกรรม นำวิถีส่งเสริมสุขภาพ

ทันตกรรม นำวิถีส่งเสริมสุขภาพ. โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 28 เมษายน 2554. แนวทางการส่งเสริมสุขภาพในเวทีโลก. แนวทางการส่งเสริมสุขภาพในเวทีโลก. กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย การส่งเสริมสุขภาพ. เพิ่มความสามารถของชุมชน. สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ.

Pat_Xavi
Download Presentation

ทันตกรรม นำวิถีส่งเสริมสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทันตกรรม นำวิถีส่งเสริมสุขภาพ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 28 เมษายน 2554

  2. แนวทางการส่งเสริมสุขภาพในเวทีโลกแนวทางการส่งเสริมสุขภาพในเวทีโลก

  3. แนวทางการส่งเสริมสุขภาพในเวทีโลกแนวทางการส่งเสริมสุขภาพในเวทีโลก

  4. กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย การส่งเสริมสุขภาพ • เพิ่มความสามารถของชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • พัฒนา • ทักษะ • ส่วนบุคคล • Enable • Mediate • Advocate ปรับระบบบริการสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ

  5. Adelaide Recommendations on Healthy Public Policy ข้อเสนอแนะแอดดีเลด สร้างพันธมิตรใหม่เพื่อสุขภาพ นโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ

  6. Sundvall Statement on Supportive Environments for Health คำประกาศซันด์สวาลล์ • ความสำคัญของปัจจัยสิ่งแวดล้อม • ต่อสุขภาพ • มิติเพื่อเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ • ต่อสุขภาพ • (มิติทางสังคม,การเมือง,เศรษฐกิจ, • ทักษะความรู้ของสตรี) • หลักพื้นฐานความเสมอภาค • การพึ่งพาซึ่งกันและกัน สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

  7. Jakarta Declaration on Leading Health Promotion into the 21st Century คำประกาศจาการ์ตา การส่งเสริมสุขภาพสู่ศตวรรษที่ 21 กลยุทธ 5 ประการในกฎบัตรออตตาวา ปัจจัยที่กำหนดสภาวะสุขภาพ ประเด็นที่สำคัญ - ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม - เน้นการลงทุนด้านสุขภาพ - ขยายภาคีทางสุขภาพ - เพิ่มศักยภาพชุมชน - เสริมสร้างอำนาจของปัจเจกบุคคล - สร้างโครงสร้างพื้นฐาน

  8. Mexico Ministerial Statement for the Promotion of Health การแปลงแนวคิดสู่การปฏิบัติ  ประชาชนสุขภาพดี การส่งเสริมสุขภาพเป็นความรับผิดชอบ ของรัฐบาลและทุกภาคส่วน แก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคมเพื่อสุขภาวะ สร้างกลไกความร่วมมือ ให้การส่งเสริมสุขภาพเป็นองค์ประกอบ พื้นฐานในนโยบายสาธารณะ

  9. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพพ.ศ. 2554 • กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย : การส่งเสริมสุขภาพ • กฎบัตรกรุงเทพ : กลยุทธ์ การส่งเสริมสุขภาพในยุคโลกาภิวัตน์ • ไนโรบี : วิถีสู่การปฏิบัติ

  10. กฎบัตรกรุงเทพ : กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพในยุคโลกาภิวัฒน์ • นโยบาย • โครงสร้างพื้นฐาน • ปฏิบัติการ พันธมิตร การลงทุน • พัฒนานโยบาย • ภาวะผู้นำ • การปฏิบัติที่ดี • การจัดการความรู้ • รู้เท่าทันสุขภาพ กฎบัตรกรุงเทพ เพื่อการส่งเสริม สุขภาพ พันธสัญญาสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า • ทำให้การส่งเสริมสุขภาพ • วาระการพัฒนาโลก • ความรับผิดชอบของรัฐ • เป้าหมาย ชุมชน ประชาสังคม • ข้อกำหนดที่ดีของบรรษัท การสร้าง ศักยภาพ การสร้าง กระแส กฎหมาย กฎ ระเบียบ

  11. กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 7 Nairobi call to action ภาวะผู้นำ Community Empowerment Partnership & Intersectoral Action Individual Empowerment ข้อมูล เชิงประจักษ์ Building Capacity นโยบาย Strengthening Health System การทำงานเป็นระบบ การพัฒนาทักษะ

  12. ไนโรบี : วิถีสู่การปฏิบัติ พัฒนาศักยภาพ รู้เท่าทันสุขภาพ ภาวะผู้นำ ไนโรบี : วิถีสู่การปฏิบัติ ข้อมูล เชิงประจักษ์ นโยบาย การทำงาน เป็นระบบ การพัฒนา ทักษะ เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบสุขภาพ เสริมสร้าง พลังชุมชน พันธมิตร

  13. ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี  ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ - คัดกรอง Thal / HIV โรงเรียนพ่อแม่  อาหาร และโภชนาการ  ทันตสุขภาพ • ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย  รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก  โรงเรียนพ่อแม่  คลินิกนมแม่  คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว WCC คุณภาพ  โรงเรียนพ่อแม่  ตรวจพัฒนาการเด็ก  โภชนาการ  นิทาน ของเล่น  ทันตสุขภาพ  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ผลลัพธ์  ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ  ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 หรือลดลงจากเดิมปีละ ร้อยละ 0.5  เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 25 หรือ เพิ่มขึ้นจากเดิมปีละ ร้อยละ 2.5  เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 90 %

  14. การป้องกันและรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์กรมอนามัยการป้องกันและรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์กรมอนามัย ผู้ติดเชื้อ เอชไอวี

  15. การส่งเสริม พัฒนาการ เด็กปฐมวัย

  16. การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชนด้านสุขภาพอนามัยและการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555

  17. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง นโยบาย / การบริหารจัดการ / โครงการร่วมโรงเรียนและชุมชน / การจัดสิ่งแวดล้อม / อนามัยโรงเรียน / สุขศึกษา / โภชนาการ / ออกกำลังกาย / การให้คำปรึกษา / ส่งเสริมสุขภาพ การดำเนินงานสุขภาพของนักเรียนแกนนำเช่น ชมรมเด็กไทยทำได้ / อย.น้อย / อสร./ ยสร. /To be # 1

  18. วัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต สภาเด็กและเยาวชน/เด็กไทยทำได้/To be # 1/GO/NGO/อสม. สัดส่วนเพศสัมพันธ์ ม. 2, ม. 5 /ปวช. 2 ร้อยละใช้ถุงยางอนามัย / ร้อยละวิธีคุมกำเนิด อัตราแม่วัยรุ่น (15 – 19 ปี) ต่อพันวัยรุ่น • ชะลอเพศสัมพันธ์ • เพศสัมพันธ์ปลอดภัย • การวางแผนตั้งครรภ์

  19. ที่มา : คณะกรรมาธิการสาธารณสุข, วุฒิสภา ลดการ ตั้งครรภ์ วัยรุ่น www.designfreebies.org

  20. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 7 ผลลัพธ์ 3 สิ่งแวดล้อม เอื้อต่อสุขภาพ 1 การนำ และ การบริหาร 4 ส่งเสริม สุขภาพ บุคลากร รพ. 6 ส่งเสริม สุขภาพ ฃุมชน 2 การบริหารทรัพยากร และพัฒนาบุคคล 5 ส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ และญาติ

  21. แนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกินแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - สื่อ - ปัจจัยเอื้อทางกายภาพ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย การเข้าถึงแหล่งอาหาร ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพพันธุกรรมทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม Energy in (+) ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก

  22. แนวคิด “โครงการจังหวัด ลด หวาน มัน เค็ม เติมเต็มผักผลไม้ หมั่นออกกำลังกาย” ลดหวาน มัน เค็ม เติมเต็ม ผัก ผลไม้ หมั่นออก กำลังกาย

  23. แนวคิดการควบคุมป้องกันภาวะขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555 การควบคุมป้องกัน คุณภาพชีวิต ภาวะขาดสารไอโอดีน ทุกกลุ่มวัย

  24. แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กองทุนเงินออม แห่งชาติ พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ นโยบายที่บูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ

  25. ทันต สุขภาพ

  26. การส่งเสริมสุขภาพ เครือข่าย และมาตรการสำคัญ 1) เครือข่ายโรงพยาบาล / บุคลากรสาธารณสุขในทุกประเด็น 2) เฉพาะมาตรการสำคัญที่เพิ่มจากแผนเดิม

  27. การส่งเสริมสุขภาพ เครือข่าย และมาตรการสำคัญ 1) เครือข่ายโรงพยาบาล / บุคลากรสาธารณสุขในทุกประเด็น 2) เฉพาะมาตรการสำคัญที่เพิ่มจากแผนเดิม

  28. สวัสดี

More Related