1 / 59

มุมมองการวัดคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ TQF สู่อาเซียน นิภาพรรณ แก่นคง กลุ่มพัฒนามาตรฐานอุดมศึกษา สำนักมาตรฐานและประเมินผ

มุมมองการวัดคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ TQF สู่อาเซียน นิภาพรรณ แก่นคง กลุ่มพัฒนามาตรฐานอุดมศึกษา สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สกอ. 6 กันยายน 2556 ณ ห้องประชุม 5209 อาคารสัมมนา 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. ENVIRONMENT. Outcome.

shaw
Download Presentation

มุมมองการวัดคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ TQF สู่อาเซียน นิภาพรรณ แก่นคง กลุ่มพัฒนามาตรฐานอุดมศึกษา สำนักมาตรฐานและประเมินผ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มุมมองการวัดคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ TQF สู่อาเซียน นิภาพรรณ แก่นคง กลุ่มพัฒนามาตรฐานอุดมศึกษา สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สกอ. 6 กันยายน 2556 ณ ห้องประชุม 5209 อาคารสัมมนา 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  2. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

  3. ENVIRONMENT Outcome Support What to Learn Input [contents] Do they learn? How to Learn Methods & Strategies [Assessment] ที่มา: ศาสตราจารย์ภิรมย์ กมลรัตนกุล ในการประชุมหารือ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2552 ณ โรงแรมสยามซิตี กทม. จะรู้ได้อย่างไรว่าบัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ แนวคิดของ TQF มุ่งเน้นที่มาตรฐานผลการเรียนรู้ จึงมีแนวทางการประกันคุณภาพหลักสูตรและรายวิชาที่ชัดเจน การออกแบบและวางแผนการจัดหลักสูตร กลยุทธ์การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ตลอดจนกิจกรรมต่างๆของสถาบันอุดมศึกษาจึงต้องมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการกำหนดให้ทวนสอบสัมฤทธิผลของผู้เรียน มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนการประเมินความเห็นของผู้ใช้บัณฑิตเพื่อให้มั่นใจว่าผู้เรียนบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้

  4. การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาขึ้นใน ตนเอง จากประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการศึกษา จนเกิดเป็นคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ (Graduate Attribute หรือ Characteristic) มาตรฐานผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)คือ ข้อกำหนดเฉพาะ ซึ่งเป็นผลที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนพัฒนาขึ้นจากการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาระหว่าง การศึกษา จากการเรียนและการเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่สถาบันอุดมศึกษาจัด ให้ทั้งในและนอกหลักสูตรและแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจและ ความสามารถจากการเรียนรู้เหล่านั้นได้อย่างเป็นที่เชื่อถือเมื่อเรียนจบในรายวิชา หรือหลักสูตรนั้นแล้ว

  5. ปรากฏการณ์NQFที่เกิดขึ้นกับการศึกษาของประเทศต่างๆปรากฏการณ์NQFที่เกิดขึ้นกับการศึกษาของประเทศต่างๆ GREENLAND ALASKA (USA) SWEDEN ICELAND RUSSIA FINLAND NORWAY CANADA ESTONIA LATVIA DENMARK LITHUANIA BELARUS REPULIC OFIRELAND UNITEDKINGDOM NETHERLANDS GERMANY POLAND BELGIUM CZECHREPUBLIC UKRAINE KAZAKHSTAN SLOVAKIA AUSTRIA MONGOLIA HUNGARY SWITZ. FRANCE ROMANIA ITALY UZBEKISTAN BULGARIA GEORGIA KYRGYZSTAN SPAIN NORTHKOREA PORTUGAL UNITED STATES of AMERICA GREECE TURKEY TURKMENISTAN TAHKISTAN CHINA SOUTHKOREA JAPAN SYRIA AFGHANISTAN IRAN IRAQ TUNISIA MOROCCO PAKISTAN ALGERIA NEPAL LIBYA EGYPT WESTERN SAHARA SAUDIARABIA MEXICO TAIWAN UAE INDIA OMAN VIETNAM MYANMAR CUBA MAURITANIA LAOS MALI NIGER CHAD THAILAND SUDAN YEMEN GUATEMALA HONDURAS SENEGAL PHILIPPINES NICARAGUA CAMBODIA BURKINA GUINEA NIGERIA COSTA RICA ETHIOPIA VENEZUELA GHANA PANAMA SRILANKA COTED’IVOIRE CENTRALAFRICAN REPUBLIC LIBERIA GUYANA CAMEROON FRENCHGUIANA MALAYSIA COLOMBIA SURINAME SOMALIA UGANDA KENYA CONGO GABON ECUADOR DEMOCRATICREPUBLIC OFCONGO TANZANIA PAPUANEW GUINEA INDONESIA BRAZIL PERU ANGOLA ZAMBIA BOLIVIA MOZAMBIQUE MADAGASCAR ZIMBABWE NAMIBIA BOTSWANA PARAGUAY AUSTRALIA REPUBLICOF SOUTHAFRICA URUGUAY CHILE ARGENTINA NEWZEALAND ที่มา : http://www.adeanet.org/adeaPortal/adea/Biennale%202008/Documentation/Powerpoints%20Biennale/Presentations%20Session%207/Session% 207%20presentation%201.%20SAMUELS%20Joel%20ENG.ppt#256,1,A Critical Reflection on Qualifications Frameworks and Possible Future Directions 5

  6. TQF: เครื่องมือในการนำนโยบายการจัดการศึกษาสู่การปฏิบัติ หลักสูตร สกอ. สถาบันการศึกษา แผนพัฒนาสถาบัน อุดมศึกษา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พรบ. การศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปรัชญาการศึกษา นโยบายผู้บริหาร แผนอุดมศึกษาศึกษาระยะยาว แผนปฏิบัติการ สถาบันอุดมศึกษา เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 6 6

  7. Qualifications Framework Quality Framework

  8. TQF: เครื่องมือในการนำนโยบายการจัดการศึกษาสู่การปฏิบัติ Program Spec. Course Spec. Field Experience Spec. และรายงานต่าง ๆ TQF หลักสูตร TQF สาขา สกอ. สถาบันการศึกษา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พรบ. การศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปรัชญาการศึกษา แผนพัฒนาสถาบัน อุดมศึกษา นโยบายผู้บริหาร แผนอุดมศึกษาศึกษาระยะยาว แผนปฏิบัติการ สถาบันอุดมศึกษา เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร 8 8

  9. ไม่ ติดตาม การดำเนินการ ตาม TQF ใช่ ๑ ใช่ เผยแพร่หลักสูตรที่ดำเนินการได้มาตรฐาน TQF ๑ กก.อ.กำหนดหลักเกณฑ์การปรับปรุง ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ .พ.ศ. ๒๕๕๒ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา ต่างๆ เกณฑ์กำหนดชื่อปริญญา สกอ. ๕ปี มคอ.๑ หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์/แนวทางอื่น ๆ มหาวิทยาลัย เสนอ สภาสถาบันอนุมัติ วางแผนปรับปรุง + พัฒนา ๑ปี รายละเอียดของหลักสูตร (Programme Specification) มคอ.๒ เสนอ รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/ฝึกงาน (ถ้ามี) (Course + Field Experience Specifications) สกอ. รับทราบ หลักสูตรและ บันทึกไว้ในฐาน ข้อมูล รายงานประจำภาค /ประจำปีการศึกษา (Semester/Annual Programme Report) (มคอ.๓-๔) (มคอ.๗) รายงานรายวิชา (Course Reports) กระบวนการเรียนการสอน (ที่ทำให้บรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง) (มคอ.๕-๖) (POD Network) การวัดและประเมินผล มุ่งเน้นผลการเรียนรู้ของนักศึกษา/บัณฑิต Teaching Unit การจัดสิ่งอำนวยความสะดวก สภาพแวดล้อม นักศึกษา/บัณฑิตได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (บัณฑิตมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้จ้างงานและสังคม) 9 9

  10.  “Think first, then do”, because thinking is less costly than doing. (i.e. Work Smarter, Not Harder) PLAN: Design or revise business process components to improve results DO: Implement the plan and measure its performance CHECK: Assess the measurements and report the results to decision makers ACT: Decide on changes needed to improve the process Deming's PDCA cycle can be illustrated as follows: ที่มา: รศ.ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ การบรรยาย เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา วันที่ 25 เม.ย.2552 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต 10

  11. มาตรฐานผลการเรียนรู้(Domains of Learning) ของคุณวุฒิทุกระดับในประเทศไทย 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Morals) 2. ด้านความรู้ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) บางสาขาวิชาอาจเพิ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสัย (Domain of Psychomotor Skills) หรือบางสาขาวิชาต้องการให้บัณฑิตของสาขาวิชามีมาตรฐานผลการเรียนรู้มากกว่าหรือพิเศษกว่าบัณฑิตในสาขาวิชาอื่นก็สามารถกำหนดเพิ่มเติมได้ 11

  12. มหาวิทยาลัย/คณะ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา ปณิธาน 12

  13. ENVIRONMENT Outcome Support What to Learn Input [contents] Do they learn? How to Learn Methods & Strategies [Assessment] ที่มา: ศาสตราจารย์ภิรมย์ กมลรัตนกุล ในการประชุมหารือ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2552 ณ โรงแรมสยามซิตี กทม. จะรู้ได้อย่างไรว่าบัณฑิตมีคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ แนวคิดของ TQF มุ่งเน้นที่มาตรฐานผลการเรียนรู้ จึงมีแนวทางการประกันคุณภาพหลักสูตรและรายวิชาที่ชัดเจน การออกแบบและวางแผนการจัดหลักสูตร กลยุทธ์การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ตลอดจนกิจกรรมต่างๆของสถาบันอุดมศึกษาจึงต้องมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการกำหนดให้ทวนสอบสัมฤทธิผลของผู้เรียน มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนการประเมินความเห็นของผู้ใช้บัณฑิตเพื่อให้มั่นใจว่าผู้เรียนบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดไว้

  14. การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาขึ้นใน ตนเอง จากประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการศึกษา จนเกิดเป็นคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ (Graduate Attribute หรือ Characteristic) มาตรฐานผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)คือ ข้อกำหนดเฉพาะ ซึ่งเป็นผลที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนพัฒนาขึ้นจากการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาระหว่าง การศึกษา จากการเรียนและการเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่สถาบันอุดมศึกษาจัด ให้ทั้งในและนอกหลักสูตรและแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจและ ความสามารถจากการเรียนรู้เหล่านั้นได้อย่างเป็นที่เชื่อถือเมื่อเรียนจบในรายวิชา หรือหลักสูตรนั้นแล้ว

  15. Learning outcomes are the basic building blocks of the Bologna education reform (bottom-up reform) Learning outcomes: statements of what a learner is expected to know, understands and is able to do Represent part of a paradigm change to learner-centred learning Provide a clear focus on what students achieve + focus on teaching-learning-assessment relationship (cathartic change) Lead to better qualifications and an improved student experience Can be subject specific or transversal Underpin all the Bologna reforms … Source: Mr.Stephen Adam, OHEC’s DIRECT Project

  16. ความสำคัญของผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)

  17. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ • โครงสร้างของระดับคุณวุฒิ • มาตรฐานผลการเรียนรู้ • คุณลักษณะของบัณฑิต • ลักษณะของหลักสูตร • จำนวนหน่วยกิต • การกำหนดชื่อคุณวุฒิ • การเทียบโอนความรู้หรือประสบการณ์

  18. (๑) ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) หมายถึง การพัฒนานิสัยในการประพฤติอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และด้วยความรับผิดชอบทั้งในส่วนตนและส่วนรวม ความ สามารถในการปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยม การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนตามศีลธรรม ทั้งในเรื่องส่วนตัวและสังคม(๒) ด้านความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ การนึกคิด และการนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนกระบวนการต่างๆ และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ • (๓) ด้านทักษะทางปัญญา(Cognitive Skills) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์และใช้ความรู้ ความเข้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ ในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ๆ ที่ไม่ได้คาดคิดมาก่อน

  19. (๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) หมายถึง ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การแสดงถึง ภาวะผู้นำ ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม ความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบ ในการเรียนรู้ของตนเอง • (๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ(Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ความสามารถในการใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ ความสามารถในการสื่อสารทั้งการพูด การเขียน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

  20. นอกจากผลการเรียนรู้ทั้ง ๕ ด้านนี้ บางสาขาวิชาต้องการทักษะทางกายภาพสูง เช่น การเต้นรำ ดนตรี การวาดภาพ การแกะสลัก พลศึกษา การแพทย์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงต้องเพิ่มการเรียนรู้ทางด้านทักษะพิสัย (Domain of Psychomotor Skill)

  21. มาตรฐานผลการเรียนรู้ คือ ข้อกำหนดเฉพาะซึ่งเป็นผลที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนพัฒนาขึ้นจากการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านที่ได้รับการพัฒนาระหว่างการศึกษา จากการเรียนและการเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่สถาบันอุดมศึกษาจัดให้ทั้งในและนอกหลักสูตรและแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจและความสามารถจากการเรียนรู้เหล่านั้นได้อย่างเป็นที่เชื่อถือเมื่อเรียนจบในรายวิชาหรือหลักสูตรนั้นแล้ว • มาตรฐานผลการเรียนรู้ซึ่งมีอย่างน้อย ๕ ด้าน ดังกล่าวข้างต้น เป็นมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตทุกคนในทุกระดับคุณวุฒิ โดยแต่ละด้านจะมีระดับความซับซ้อนเพิ่มขึ้น เมื่อระดับคุณวุฒิสูงขึ้น ทักษะและความรู้จะเป็นการสะสมจากระดับคุณวุฒิที่ต่ำกว่าสู่ระดับที่สูงขึ้น ดังนั้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ของระดับคุณวุฒิใดคุณวุฒิหนึ่งจะรวมมาตรฐานผลการเรียนรู้ในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันของระดับคุณวุฒิที่ต่ำกว่าด้วย

  22. มาตรฐานผลการเรียนรู้ซึ่งมีอย่างน้อย ๕ ด้าน ดังกล่าวข้างต้น เป็นมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตทุกคนในทุกระดับคุณวุฒิ โดยแต่ละด้านจะมีระดับความซับซ้อนเพิ่มขึ้น เมื่อระดับคุณวุฒิสูงขึ้น ทักษะและความรู้จะเป็นการสะสมจากระดับคุณวุฒิที่ต่ำกว่าสู่ระดับที่สูงขึ้น ดังนั้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ของระดับคุณวุฒิใดคุณวุฒิหนึ่งจะรวมมาตรฐานผลการเรียนรู้ในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันของระดับคุณวุฒิที่ต่ำกว่าด้วย

  23. การเทียบเคียงมาตรฐานคุณภาพบัณฑิตในกลุ่มอาเซียนการเทียบเคียงมาตรฐานคุณภาพบัณฑิตในกลุ่มอาเซียน

  24. Indonesian Qualifications Framework General description - outlines characteristics, personalities, working attitude,ethics, morality of every Indonesian human being and is applied to every level Specific descriptors: • Skills in fulfilling the job and competence • Coverage of science and/knowledge • Methods and levels of competence in applying science/knowledge • Management skills. Source: Second Meeting of Task Force on ASEAN Qualifications Reference Framework, 20 -22 March, Jakarta, Indonesia.

  25. Malaysian Qualifications Framework • Knowledge • Practical skills • Social skills and responsibilities • Values, attitudes and professionalism • Communication, leadership and team skills • Problem solving and scientific skills • Information management and lifelong learning skills • Managerial and entrepreneurial skills. Source: Second Meeting of Task Force on ASEAN Qualifications Reference Framework, 20 -22 March, Jakarta, Indonesia.

  26. Philippines National Qualifications Framework in the TVET sector • Process • Responsibility • Application Source: Second Meeting of Task Force on ASEAN Qualifications Reference Framework, 20 -22 March, Jakarta, Indonesia.

  27. Structure of the framework (ARQF) Learning outcomes Level descriptors 1. Knowledge and skills: the kind of knowledge and skills involved 2. Application: the context in which the knowledge and skills are applied 3. Responsibility and accountability: the level of independence. Volume of Learning Referencing Governance Source: Second Meeting of Task Force on ASEAN Qualifications Reference Framework, 20 -22 March, Jakarta, Indonesia.

  28. สาขาวิชาในการแลกเปลี่ยน จำนวน ๗ สาขาวิชา ได้แก่ ๑) ภาษาและวัฒนธรรม ๒) การเกษตร ๓) ธุรกิจระหว่างประเทศ ๔) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ๕) การจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว ๖) วิศวกรรมศาสตร์ และ ๗) เศรษฐศาสตร์ โครงการ ASEAN International Mobility for Students Programme: AIMS - สกอ.ร่วมกับSEAMEO RIHED ดำเนินโครงการนำร่องการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย (ชื่อเดิม “Malaysia-Indonesia-Thailand Student Mobility Programme” และเปลี่ยนเป็น “ASEAN International Mobility for Students Programme” เมื่อเดือนมีนาคม 2555) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยมีแผนขยายกรอบในการแลกเปลี่ยนให้ครบ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน และ 10 สาขาวิชาภายในปี พ.ศ. 2558 - ปัจจุบันมีประเทศที่เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนสองทาง ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ และบรูไนดารุสซาลาม เป็นการเดินทางไปแลกเปลี่ยนเป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา และให้มีการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างกันอย่างน้อย 9 หน่วยกิต (หรืออย่างน้อย 3 รายวิชา)

  29. สาขาวิชาในการแลกเปลี่ยน จำนวน 7 สาขาวิชา ได้แก่ • ภาษาและวัฒนธรรม • การเกษตร • ธุรกิจระหว่างประเทศ • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร • 5) การจัดการการโรงแรมและการท่องเที่ยว • วิศวกรรมศาสตร์ และ • เศรษฐศาสตร์

  30. เทียบเคียงมาตรฐานผลการเรียนรู้(Domains of Learning) ไทยกับมาเลเซีย TQF 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บางสาขาวิชาอาจเพิ่มด้านทักษะพิสัย MQF 1. knowledge; 2. practical skills; 3. social skills and responsibilities; 4. values, attitudes and professionalism; 5. communication, leadership and team skills; 6. problem solving and scientific skills; 7. information management and lifelong learning skills; and 8. managerial and entrepreneurial skills 30

  31. ข้อเสนอแนะสถาบันอุดมศึกษาข้อเสนอแนะสถาบันอุดมศึกษา เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลคุณลักษณะบัณฑิต ตามกรอบ TQF

  32. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (ต่อ) ที่มา: แบบ มคอ.๒ รายละเอียดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๓ ม.สหศาสตร์ 32 32 84

  33. ตัวอย่างที่ 2

  34. ตัวอย่างที่ 3 แหล่งอ้างอิง : รศ.นพ.ทวี เลาหพันธ์ และคณะ โครงการจัดทำมาตรฐานสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

  35. ตัวอย่างที่ 3 (ต่อ) แหล่งอ้างอิง : รศ.นพ.ทวี เลาหพันธ์ และคณะ โครงการจัดทำมาตรฐานสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

  36. How to assess the competences Source : Competence-based learning A proposal for the assessment of generic competences

  37. TEAMWORK: FIRST LEVEL OF ACHIEVEMENT (1/2)

  38. Source: Prof. Julia Gonzalez, International Conference “Tuning in the World: New Degree Profiles for New Society” 21 November 2012, Brussells, Belgium.

  39. AHELO: international participation – 17 countries and 12 languages

  40. 23000 students • Is it feasible to develop frameworks and instruments to test discipline-specific learning outcomes? • Test fields: Economics, Engineering 250 institutions 5000 faculty

  41. 21st century skills: Rethinking How Students Learn ที่มา: James Bellanca, Ron Brandt. 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. United States of America: Solution Tree Press, 2010. pp. xv

  42. Core Subjects • English, Reading, or Language Arts • World Languages • Arts • Mathematics • Economics • Science • Geography • History • Government and Civics ที่มา: James Bellanca, Ron Brandt. 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. United States of America: Solution Tree Press, 2010. pp. xv

  43. Life and Career Skills • Flexibility and Adaptability • Initiative and Self-Direction • Social and Cross-Cultural Skills • Productivity and Accountability • Leadership and Responsibility ที่มา: James Bellanca, Ron Brandt. 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. United States of America: Solution Tree Press, 2010. pp. xv

  44. Learning and Innovation Skills • Creativity and Innovation • Critical Thinking and Problem Solving • Communication and Collaboration ที่มา: James Bellanca, Ron Brandt. 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. United States of America: Solution Tree Press, 2010. pp. xv

  45. Information, Media, and Technology Skills • Information Literacy • Media Literacy • Information and Communications Technology (ICT) Literacy ที่มา: James Bellanca, Ron Brandt. 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. United States of America: Solution Tree Press, 2010. pp. xv

  46. 21st Century Education : Support Systems • 21st Century Standards and Assessments • 21st Century Curriculum and Instruction • 21st Century Professional Development • 21st Century Learning Environments ที่มา: James Bellanca, Ron Brandt. 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. United States of America: Solution Tree Press, 2010. pp. xv

  47. Tuning Higher Education in the world • Bangkok, 4th of July 2012 Tuning list of key questions: • Degree profile • Learning outcomes – progression and coherence of the program and its courses, subject –specific and generic competences covering knowledge, understanding, skills, abilities, and values. • Competences – comparable and compatible with European reference points relative to the subject area. • Level – EQF and NQF. • Credit and Workloads • Resources 7. Monitoring 8. updating • Sustainability and responsibility • Organization and Information - Diploma Supplement Source: Tuning Education Structures in Europe; An Introduction, 2nd edition February 2008

  48. Tuning Educational structures for the Internalization (Sciences): SWU

  49. Tuning Educational structures for the Internalization (Computer): KMUTT

More Related