1 / 68

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง วันที่ 15 พฤษภาคม 2556

คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity clinic : DPAC). เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์. วท.ด.(วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) ศูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Pensri0701@gmail.com 089 0227470. ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง วันที่ 15 พฤษภาคม 2556. เรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างไร.

heath
Download Presentation

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง วันที่ 15 พฤษภาคม 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity clinic : DPAC) เพ็ญศรี กองสัมฤทธิ์. วท.ด.(วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) ศูนย์อนามัยที่ 3 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข Pensri0701@gmail.com 089 0227470 ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง วันที่ 15 พฤษภาคม2556

  2. เรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างไรเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันอย่างไร • Diet & Physical Activity clinic : DPAC (คลินิกไร้พุง) • Fit for Life (DPAC plus) • ศูนย์การปรึกษาพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ (Health Coaching Center)

  3. การแก้ปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) มี 2 ระดับ 1. ระดับชุมชน (Community approach)ใช้กับประชาชนกลุ่มปกติ หรือกลุ่มเสี่ยง เรียกว่า ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้แก่  องค์กร/ชุมชนต้นแบบไร้พุง (กรมอนามัย)  ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (กรมควบคุมโรค  หมู่บ้านจัดการสุขภาพ (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ) 2. ระดับบุคคลหรือรายบุคคล (Individual approach) ใช้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง หรือ กลุ่มป่วยที่ควบคุมไม่ได้ เรียกว่า คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity clinic : DPAC)

  4. ผลการเยี่ยม พัฒนา และประเมินผลการดำเนินงานคลินิกไร้พุง (ปี พ.ศ.2555)

  5. ปัญหาและอุปสรรค • ศักยภาพของผู้ให้บริการในคลินิกไร้พุง (การบูรณาการความรู้เกี่ยวกับโรค การบริโภคอาหาร การใช้แรงกายที่เหมาะสมในแต่ละอาชีพ เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) • ความชัดเจนในขอบเขตการให้บริการของคลินิกไร้พุงของโรงพยาบาลแต่ละระดับ • ระบบส่งต่อของผู้มารับบริการ

  6. ข้อเสนอแนะ • กำหนดเป็นนโยบายให้สถานบริการทุกแห่งจัดตั้งและขอให้ดำเนินการอย่างจริงจัง • การกำหนดบทบาทหน้าที่ของการให้บริการชัดเจนระหว่างคลินิกไร้พุงของ รพ.แต่ละระดับ และระบบการส่งต่อด้วย(บอร์ด NCD กำหนดขอบเขตของการให้บริการและใช้ทั้งเขต) • พัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด สสอ. ในการประเมินคลินิกไร้พุง • พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการในคลินิกไร้พุง

  7. ประเด็นหรือ สิ่งที่ผู้ปฏิบัติ ผู้ประเมินต้องรู้ เช้า 1. เกณฑ์การแบ่งกลุ่มเสี่ยงต่างๆ และผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้และที่ควบคุมไม่ได้ 2. กลุ่มเป้าหมายและเป้าหมายของการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 3. แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พุง บ่าย 4. เทคนิคการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5. คลินิกไร้พุง 6. เกณฑ์การประเมินคลินิกไร้พุง

  8. 5. คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity clinic : DPAC)

  9. การจัดตั้งและดำเนินการ “คลินิกไร้พุง” เพื่อแก้ปัญหารายบุคคลในกรณีที่องค์กร/ชุมชนดำเนินการปรับพฤติกรรมแล้วไม่สามารถแก้ปัญหาได้ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมได้

  10. คลินิกไร้พุง (Diet & Physical Activity Clinic : DPAC) คลินิกที่ดำเนินการเพื่อให้เกิดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและมีการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลัง พร้อมทั้งสนับสนุนให้เกิดผลการปฏิบัติตามแนวทางมาตรฐานที่กำหนดไว้แต่ละกลุ่มวัยอย่างถูกต้อง สนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนในการปฏิบัติ ที่มา : คู่มือการดำเนินงานในคลินิก DPAC สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

  11. ผู้รับบริการ กลุ่มเสี่ยงสูง (อ้วนลงพุง, อ้วนอันตราย, Pre DM, Pre HT) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือ ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ ประชาชนที่มีโรคประจำตัว โรคเรื้อรัง 5 โรค (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ มะเร็ง หลอดเลือดสมอง) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงด้านพฤติกรรม ประชาชนทั่วไป ที่สนใจดูแลสุขภาพ

  12. แนวทางการจัดตั้งคลินิกไร้พุง แนวทางการจัดตั้งคลินิกไร้พุง

  13. แนวทางในการให้คำปรึกษา ใน คลินิกไร้พุง วินิจฉัยสาเหตุของปัญหาที่แท้จริงของผู้รับบริการให้ได้ พฤติกรรมที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา (มีอะไรบ้าง) เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง (แต่ละปัญหา) กิจกรรมที่ผู้รับบริการเลือกที่จะปฏิบัติ (ในแต่ละครั้ง) การนัดเพื่อติดตามและประเมินผล (ในแต่ละครั้ง) สิ่งสำคัญ คือ ต้องประเมินพฤติกรรมของผู้มารับบริการนั้น ว่าอยู่ในขั้นตอนใด หรือทำอะไรได้บ้าง

  14. ประสิทธิภาพของคลินิกไร้พุงประสิทธิภาพของคลินิกไร้พุง ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน (Pre DM) ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 5 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง (Pre HT) ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 5

  15. ประสิทธิภาพของคลินิกไร้พุง (ต่อ)  ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1C ครั้งสุดท้ายน้อยกว่าร้อยละ 7 หรือระดับ FBS  70 -  130 mg/dl. 3 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน) มากกว่าร้อยละ 50 หรือเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับข้อมูลของปีที่แล้ว ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ (BP140/90 mmHg) มากกว่าร้อยละ 40 หรือเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับข้อมูลของปีที่แล้ว

  16. กลุ่มที่ไม่สนใจปัญหา/โรคที่ตนเองเป็น มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือเป็นโรคอะไร กลุ่มที่ลังเลใจ มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร กลุ่มที่อยู่ในขั้นตัดสินใจและเตรียมตัว มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร กลุ่มที่อยู่ในขั้นลงมือปฏิบัติ มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร กลุ่มที่กระทำที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีกี่คน เป็นกลุ่มเสี่ยง หรือโรคอะไร (น้ำหนักลด รอบเอวลด กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นโรค กลุ่มป่วยควบคุมได้) การสรุปผลการดำเนินงาน ใน คลินิกไร้พุง

  17. 1.เกณฑ์การแบ่งกลุ่มเสี่ยงต่างๆ และผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้และที่ควบคุมไม่ได้

  18. ตรวจคัดกรอง SRM นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

  19. ประเด็นยุทธศาสตร์ PP กลุ่มวัยทำงาน (NCD-DM/HT) เป้าประสงค์ (GOAL) Key Success Factor Project/ Activity KPI • มีการบูรณาการในระดับจังหวัดภายใต้โครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย • มีนโยบายสาธารณะสร้างสุขภาพ พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ เช่น ลดหวาน มัน เค็ม, องค์กร/ชุมชนไร้พุง เป็นต้น • -พัฒนาศักยภาพผู้ให้ความรู้ 3อ.ระดับจังหวัด/อำเภอ/ชุมชน • รณรงค์สื่อสารในสังคมเรื่องโรคอ้วนลงพุง • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน • ทำสื่อคู่มือการควบคุมและลดน้ำหนัก • ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง • 152 แห่งใหม่ • - ชุมชนไร้พุง 2 แห่ง/รพ.สต. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง โดยการจัดการน้ำหนักของตนเองด้วยหลัก 3 อ.

  20. ประเด็นยุทธศาสตร์ PP (NCD) เป้าประสงค์ (GOAL) Key Success Factor Project/ Activity KPI พัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยกระบวนการ 3 อ. (คลินิก DPAC) 1. สถานบริการภาครัฐ (รพท., รพศ., รพช., รพสต.) มีส่วนร่วมดำเนินการคลินิก DPAC 2. กลุ่มเป้าหมายสนใจเข้ารับบริการจากคลินิก DPAC อย่างต่อเนื่อง • โครงการพัฒนาคลินิก DPAC • - ขยายผลการดำเนินงานคลินิก DPAC • - พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคลินิก DPAC • พัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง • พัฒนาองค์ความรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ • - นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 1. รพท., รพศ., รพช. ดำเนินการคลินิก DPAC ร้อยละ 80 2. รพสต. ดำเนินการคลินิก DPAC ร้อยละ 50 ของทุกอำเภอ 3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการคลินิก DPAC ร้อยละ 70

  21. การดำเนินงานการคัดกรองประชาชนที่ผ่านมาการดำเนินงานการคัดกรองประชาชนที่ผ่านมา

  22. Approachกลุ่มประชาชนทั่วไปApproachกลุ่มประชาชนทั่วไป 1. คัดกรองเบื้องต้นโดย อสม. (6 ข้อ) 2. คัดกรองโดย จนท.สาธารณสุข กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงสูง กลุ่มป่วย กลุ่มป่วยมีภาวะแทรกซ้อน • FCG < 100 • BP < 120/80 • FCG 100 - 125 • BP 120/80 – 139/89 • FCG > 126 • BP >140/90 • ตา ไต ตีน • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • DPAC • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. • DPAC 3อ. 2ส. • ลงทะเบียน • 3อ. 2ส. เข้มข้น • DPAC • รักษาดู HbA1C • ค้นหาภาวะแทรกซ้อน • ถ่ายภาพจอประสาทตา • microalbuminuria • ตรวจเท้า • รักษาโรคและ • ภาวะแทรกซ้อน

  23. การคัดกรองสุขภาพ ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี รอบ เอว ชาย  90 ซม. 90 – 102 ซม. มากกว่า 102 ซม. หญิง 80 ซม. 80 – 88 ซม. มากกว่า 88 ซม. BMI 18.5–22.9 กก./ม223.0-24.9 กก./ม2 25 กก./ม2 BP 120/80 mmHg 120/80-139/89  140/90 mmHg FBS 100 mg/dl 100-125 mg/dl  126 mg/dl

  24. การแบ่งประเภทผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการแบ่งประเภทผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  25. VICHAI MODEL (ส.ค.2555)

  26. การแบ่งประชาชน หรือ ผู้ป่วยออกเป็นกลุ่มๆเพื่ออะไร

  27. แนวทางการดูแลประชาชนกลุ่มต่างๆแนวทางการดูแลประชาชนกลุ่มต่างๆ

  28. แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  29. สรุป การคัดกรองประชาชนและการจัดการ

  30. 2. กลุ่มเป้าหมาย และเป้าหมายของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในคลินิกไร้พุง

  31. กลุ่มเป้าหมาย เป็นใครบ้าง ได้มาอย่างไร ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวานและเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ อ้วน (BMI  25 กก./ม2) อ้วนลงพุงที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง (รอบเอว ชาย 102 ซม. และหญิง  88 ซม.) กลุ่มเป้าหมาย ได้จากการคัดกรองประชาชน และทะเบียนการรักษาในรพ.สต. หรือ รพ.ต่างๆ

  32. กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้ มีเท่าไร ข้อมูล ปี พ.ศ. 2552 • Pre DM ร้อยละ 6.9, Pre HT ร้อยละ 17.4 • New caseDM ร้อยละ 1.7, HT ร้อยละ 4.3 • Controlled ได้ DM ร้อยละ 39.2, HT ร้อยละ 20.9 • อ้วน (BMI  25 กก./ตร.ม) ร้อยละ 34.0 • อ้วนลงพุง ร้อยละ 32.0

  33. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้ (HbA1C น้อยกว่าร้อยละ 7 หรือระดับ FBS  70 -  130 mg/dl. 3 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน) ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ ควบคุมได้ (ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีระดับ BP140/90 mmHg อย่างน้อย 3 ครั้งติดต่อกัน)

  34. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง (ต่อ) กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน (FPG or FCG =100-125 mg/dl. กลายเป็น กลุ่มเสี่ยงสูงเบาหวาน (อยู่เหมือนเดิม)หรือ กลุ่มปกติ (FPG or FCG 100 mg/dl. ) กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง (SBP 120-139 mmHg และ/หรือ DBP 80-89 mmHg) กลายเป็น กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง(อยู่เหมือนเดิม)หรือ กลุ่มปกติ (BP  120/80 mmHg) (Fasting Plasma Glucose : FPG, Fasting Capillary blood Glucose : FCG)

  35. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง (ต่อ) อ้วนอันตราย (BMI  30 กก./ม2) อ้วน (BMI 25.0-29.9 กก./ม2) ท้วม (BMI 23.0-24.9 กก./ม2) ปกติ (BMI 18.5-22.9 กก./ม2) (หลักเกณฑ์ของ International Obesity Task Force : IOTF)

  36. เป้าหมาย การให้คำปรึกษาในคลินิกไร้พุง (ต่อ) ผู้ชาย เสี่ยงสูง (รอบเอว  102 ซม.) เสี่ยง (รอบเอว 90-102 ซม.) ปกติ (น้อยกว่า 90 ซม.) ผู้หญิง เสี่ยงสูง (รอบเอว  88 ซม.) เสี่ยง (รอบเอว 80-88 ซม.) ปกติ (น้อยกว่า 80 ซม.) กัลยา กิจบุญชู. ข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับคนอ้วน.

  37. สรุป กลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการในคลินิกไร้พุง

  38. ตัวอย่าง ชายไทย อายุ 30 ปี อาชีพ รับจ้าง มีรอบเอว 105 ซม. BMI = 29 กก/ตร.ม. ความดันโลหิต 138/88 mmHg น้ำตาลในเลือด 100 mg/dl • ข้อมูลเหล่านี้ ได้มาอย่างไร • ปัญหาอะไรที่ต้องดำเนินการก่อน เพราะอะไร • ควรใช้บริการคลินิกไร้พุงในโรงพยาบาลอะไร

  39. 3.แนวคิด ทฤษฎีอะไร ที่ใช้ในคลินิกไร้พุง

  40. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของแบนดูรา(Social Cognitive Theory : SCT) พฤติกรรม เกิดจากการสังเกตและการเลียนแบบ การเรียนรู้ เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและสิ่งแวดล้อม ซึ่งทั้งคนและสิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลต่อกัน ตัวอย่าง การโฆษณาทางโทรทัศน์ ธุรกิจการค้าที่แนะนำให้ดื่มบางอย่างหรือการใช้ยาสระผมโดยเฉพาะจะทำให้เราเป็นที่นิยมและได้รับความชื่นชมของผู้คนที่น่าสนใจ Albert Bandura. 1977

  41. ทฤษฎีปัญญาสังคม (Social Cognitive Theory : SCT) การเรียนรู้จากการสังเกต P การรับรู้ความสามารถตน B E การกำกับตนเอง

  42. ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม(Stages of change theory) Prochaska and DiClimente. 1983 Transtheoretical Model : TTM ขั้นไม่สนใจปัญหา (Pre-contemplation) ขั้นลังเลใจ(Contemplation) ขั้นตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation) ขั้นลงมือปฏิบัติ(Action) ขั้นกระทำต่อเนื่อง (Maintenance)

  43. The Temporal Dimension as the Basis for the Stages of Change

  44. ขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

  45. ขั้นที่ 1 ไม่สนใจปัญหา (Pre-contemplation) ลักษณะของบุคคลในขั้นนี้ • ไม่ตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลง • ไม่รับรู้ ไม่ใส่ใจต่อพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของตนเอง • เบื่อที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง หรือคิดว่าไม่สามารถทำได้ • จะไม่อ่าน ไม่พูด หรือคิดเรื่องพฤติกรรมเสี่ยง • ไม่ตระหนักในปัญหา หรือรู้ปัญหาแต่ไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลง การให้คำแนะนำ • ให้ข้อมูลสะท้อนกลับเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และสุขภาพ • ให้ความรู้ ความเข้าใจ โดยเน้นข้อเท็จจริง เป็นเหตุเป็นผล และเป็นกลาง • ไม่ชี้นำ หรือขู่ให้กลัว

  46. ขั้นที่ 2 ลังเลใจ (Contemplation) ลักษณะของบุคคลในขั้นนี้ • ความตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในระยะเวลาอันใกล้นี้ (6 เดือนข้างหน้า) • มีความตระหนักถึงข้อดีของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แต่ก็ยังคงกังวลกับข้อเสียในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้วย • การชั่งน้ำหนักระหว่างข้อดี-ข้อเสียของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อาจทำให้เกิดความลังเลใจอย่างมากจนทำให้บุคคลต้องติดอยู่ในขั้นนี้เป็นเวลานาน • มีการผลัดวันประกันพรุ่ง (behavioral procrastination) จึงยังไม่พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงในทันที การให้คำแนะนำ • ควรมีการพูดคุยถึงข้อดี-ข้อเสียของพฤติกรรมเก่าและใหม่ • เปิดโอกาสให้ได้ชั่งน้ำหนักระหว่างข้อดี-ข้อเสียของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม • มีการให้ข้อมูลที่ถูกต้องได้ด้วย

  47. ขั้นที่ 3 ตัดสินใจและเตรียมตัว (Preparation) ลักษณะของบุคคลในขั้นนี้ • ตั้งใจว่าจะลงมือปฏิบัติในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเร็วๆ นี้ (ภายใน 1 เดือน) เมื่อตัดสินใจแล้วว่าจะเปลี่ยนพฤติกรรมใดของตน เช่น เลิกบุหรี่ ลดน้ำหนัก หรือออกกำลังกาย • วางแผนว่าจะต้องทำอะไรบ้าง เช่น เข้าร่วมฟังการบรรยายเรื่องสุขภาพ ขอคำปรึกษาพูดคุยกับแพทย์ ค้นคว้าข้อมูลหรือซื้อหนังสือเกี่ยวกับการปรับพฤติกรรมตนเองมาอ่าน กำหนดวันที่จะเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรม การให้คำแนะนำ • บุคคลที่อยู่ในขั้นนี้ควรได้มีทางเลือกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยให้เขาตัดสินใจเลือกเอง • การส่งเสริมศักยภาพในการกระทำของเขา

  48. ขั้นที่ 4 ลงมือปฏิบัติ (Action) ลักษณะของบุคคลในขั้นนี้ • ลงมือปฏิบัติหรือกระทำพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3-6 เดือน • พฤติกรรมที่พึงประสงค์นั้นจะต้องบรรลุตามข้อกำหนดที่ผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้าหน้าที่วิชาชีพเห็นว่าเพียงพอที่จะลดพฤติกรรมเสี่ยงได้ การให้คำแนะนำ • การส่งเสริมให้ลงมือกระทำตามวิธีที่เขาเลือกอย่างต่อเนื่อง • การช่วยหาทางขจัดอุปสรรคและให้กำลังใจ

  49. ขั้นที่ 5 กระทำต่อเนื่อง (Maintenance) ลักษณะของบุคคลในขั้นนี้ • มีการกระทำพฤติกรรมใหม่หรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์มากกว่า 6 เดือน จนกลายเป็นนิสัยใหม่ หรือเป็นชีวิตประจำวัน • การกระตุ้นหรือสิ่งเร้าต่างๆจะมีอิทธิพลน้อย และมีความเชื่อมั่นว่าตนสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ การให้คำแนะนำ • ควรมีการป้องกันการกลับไปเสพซ้ำ โดยการดำเนินชีวิตที่สมดุลอย่างมีคุณค่า ทำให้เป็นกิจวัตรประจำวัน • มีการจัดการกับชีวิตประจำวันได้ดี บริหารเวลาอย่างเหมาะสมในการดูแลสุขภาพตนเอง และอื่นๆ เช่น การกิน การออกกำลังกาย

  50. การกลับไปมีปัญหาซ้ำ (Relapse) ลักษณะของบุคคลในขั้นนี้ • มีการถอยกลับไปมีพฤติกรรมแบบเดิมๆก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ • บุคคลจะกลับไปสู่สถานการณ์เสี่ยง (การบริโภคอาหาร และการใช้แรงกาย) • ปล่อยให้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผลไม่สามารถจัดการกับความอยากได้ การให้คำแนะนำ • พยายามดึงเขากลับเข้าสู่เส้นทางการเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็วที่สุด • มีการให้กำลังใจ • มีการสรุปบทเรียนเพื่อไม่ให้เกิดซ้ำอีก และมุ่งมั่นในการเปลี่ยนพฤติกรรมต่อไป

More Related