1 / 54

ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล Data Management Center รอบสิ้นปี การศึกษา 2556

ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล Data Management Center รอบสิ้นปี การศึกษา 2556. โดย จิตรา ภรณ์ คำสุวรรณ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3. .....เป้าหมายการอบรมร่วมกัน. กำหนดการรายงานข้อมูลให้แล้วเสร็จ รับรองข้อมูลผ่านเว็บไซต์

brook
Download Presentation

ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล Data Management Center รอบสิ้นปี การศึกษา 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคลData Management Centerรอบสิ้นปีการศึกษา 2556 โดย จิตราภรณ์ คำสุวรรณ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3

  2. .....เป้าหมายการอบรมร่วมกัน..........เป้าหมายการอบรมร่วมกัน..... กำหนดการรายงานข้อมูลให้แล้วเสร็จ รับรองข้อมูลผ่านเว็บไซต์ ภายในวันที่ .....25....... เมษายน 2557เอกสารส่งกลุ่มนโยบายและแผน Print out รายงานจำนวนนักเรียนแยกชั้นเพศห้องเรียน รับรองข้อมูลโดย ผอ.รร. ภายในวันที่ .....25....... เมษายน 2557 Data Management Center 2013

  3. Data Management Center : DMC คือ ระบบบริหารจัดการ และเก็บข้อมูลนักเรียนรายคน และข้อมูลสิ้นปีการศึกษา โดยให้โรงเรียนและ สพท. สามารถบริหารจัดการ ปรับปรุง แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลนักเรียนรายคนของโรงเรียนเองได้ตามความต้องการ โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต Data Management Center 2013

  4. ประโยชน์ของระบบ DMC Data Management Center end of year 2012

  5. ประโยชน์ของระบบ DMC (ต่อ) Data Management Center end of year 2012

  6. การจัดทำข้อมูลมี 3 ระดับ Data Management Center 2013

  7. Data Management Center 2013

  8. ขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล สิ้นปีการศึกษา 2556 1. ใช้ browser และ 2. เข้าไปที่เว็บไซต์ http://portal.bopp-obec.info/obec56/ ใช้ Username และ Password เดิม Data Management Center 2013

  9. การลงทะเบียนผู้ใช้ระบบใหม่ การลงทะเบียนผู้ใช้ระบบใหม่ Data Management Center 2013

  10. การลงทะเบียนผู้ใช้ระบบใหม่ การลงทะเบียนผู้ใช้ระบบใหม่ • 1. การตั้งชื่อผู้ใช้งาน(Username) ให้ตั้งตามข้อกำหนดดังนี้มิเช่นนั้นจะไม่เปิดใช้งาน • ใช้อักษรภาษาอังกฤษ a ถึง z ได้ทั้งพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่ , ตัวเลข 0-9 กรุณาอย่าตั้ง username เป็นภาษาไทย • ห้ามมีช่องว่างและตัวอักขระพิเศษ • ความยาวอย่างน้อย 6 ตัวอักษร • 2. ในช่องถัดไปให้กรอกชื่อ นามสกุล เลขประจำตัวประชาชน โทรศัพท์ติดต่อ และ อีเมล์ของท่าน • 3 ให้เลือกกลุ่มผู้ใช้งานเป็น SCHOOL_MANAGER ซึ่งหมายความว่าเป็นเจ้าหน้าที่ข้อมูลของโรงเรียน • 4. หลังจากเลือกเขตพื้นที่การศึกษา รหัสเขต 44030000 • แล้วให้เลือกโรงเรียนที่ดูแลข้อมูลอยู่ • 5. ตั้งรหัสผ่านและยืนยันรหัสผ่าน ให้กรอกรหัสผ่านของคุณทั้งสองช่องให้เหมือนกัน • หลังจากกรอกข้อมูลเสร็จแล้วให้กด Data Management Center 2013

  11. การลงทะเบียนผู้ใช้ระบบใหม่ การลงทะเบียนผู้ใช้ระบบใหม่ • ข้อควรจำ • กรอกข้อมูลให้ครบทุกช่อง • 1 โรงเรียน ลงทะเบียนได้ 2username • ต้องมีครูผู้รับผิดชอบงานข้อมูลเป็นหลัก • ขอความกรุณาอย่าพึ่งลงทะเบียนซ้ำเพราะคิดว่าใช้งาน Username ยังไม่ได้ ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่เขตโดยแจ้งชื่อ Username และชื่อโรงเรียน เพื่อให้เจ้าหน้าที่เขตเปิดใช้งาน • ลืมรหัสผ่านให้แจ้งเจ้าหน้าที่เขตจะดำเนินการตั้งรหัสผ่านใหม่เท่านั้น Data Management Center 2013

  12. การเข้าระบบ Data Management Center 2013

  13. ระบบ DMC (ส่วนของเจ้าหน้าที่ข้อมูลโรงเรียน) • แบ่งเป็น 3 ส่วน • 1 เมนูหลัก • 2 รหัสเขตพื้นที่การศึกษา, ชื่อเขตพื้นที่การศึกษา, รหัสโรงเรียน,ชื่อ • โรงเรียน • 3 ชื่อผู้ใช้งาน, ชื่อ นามสกุล, กลุ่มผู้ใช้งาน (SCHOOL_MANAGER • หมายถึงเป็นเจ้าหน้าที่โรงเรียน) Data Management Center 2013

  14. ระบบ DMC (ส่วนของเจ้าหน้าที่ข้อมูลโรงเรียน) • เมนูหลัก หน้าจอเบื้องต้นของทุกเมนูจัดการนักเรียนจะทำงานเหมือนกันทุกหน้า ตามแนวทางดังนี้ • เมื่อเข้าสู่เมนูจะแสดง “รายการ” ตามชื่อเมนูนั้น (ให้ดูชื่อหัวข้อบนหน้าเว็บเพื่อกันความสับสน) • หากเราต้องการค้นหา ให้ใส่ข้อมูลที่จะค้นหาลงในช่องต่างๆ กดปุ่ม • หากต้องการเพิ่มรายการตามชื่อเมนูกดปุ่ม Data Management Center 2013

  15. การกรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล การกรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล • เมนูปรับปรุงข้อมูลของผู้ใช้งานของฉัน • ในหน้านี้สามารถปรับปรุงข้อมูลของผู้ใช้งานตัวเอง และสามารถจะเปลี่ยนรหัสผ่านเพื่อเข้าใช้งานระบบได้ แต่ไม่สามารถเปลี่ยน username Data Management Center 2013

  16. การกรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล การกรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล • ปรับปรุงข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน • ในหัวข้อ “ข้อมูลทั่วไป”ให้ทำการแก้ไขข้อมูลของโรงเรียนเช่น ชื่อโรงเรียน สังกัด กระทรวง เขตเทศบาล เขตตรวจราชการ วันก่อตั้ง ชื่อผู้อำนวยการ และที่อยู่ของโรงเรียน Data Management Center 2013

  17. ในหัวข้อ “ชั้นเรียนที่เปิดสอน” ให้ทำการระบุชั้นเรียนต่ำสุดและสูงสุดที่โรงเรียนเปิดสอน ในหัวข้อ “จำนวนห้องในแต่ละชั้น”ให้ทำการระบุจำนวนห้องเรียนที่เปิดสอนในแต่ละชั้น Data Management Center 2013

  18. การกรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล การกรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล • เมนูทะเบียนนักเรียน • ใช้แสดงรายละเอียดนักเรียนในโรงเรียนทั้งสิ้น และสามารถเข้าตรวจสอบข้อมูลนักเรียนรายบุคคลได้ Data Management Center 2013

  19. ลำดับการกรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคลสิ้นปีการศึกษา 2556 1. ย้ายเข้า นักเรียนให้ครบจำนวนตอนสิ้นปีการศึกษา 2556 (ก่อนสอบปลายภาค) 2. ย้ายออก นักเรียนที่ออกก่อนสิ้นปีการศึกษา 2556 (นักเรียนที่ยึดไว้ไม่ยอมย้ายให้โรงเรียนอื่น, นักเรียนที่ไม่มีตัวตนอยู่ในโรงเรียนแล้วก่อนสอบปลายภาค) 3. ออกกลางคัน/จำหน่าย นักเรียนที่ออกก่อนสิ้นปีการศึกษา 2556 (นักเรียนก่อนสอบปลายภาค) 4. กรอกแผนการรับนักเรียน ในปี 2557 โรงเรียนมีแผนว่าจะรับนักเรียนในชั้นไหนเป็นจำนวนกี่คน 5. กรอกข้อมูล GPA , O-NET, NT Data Management Center 2013

  20. 1. ย้ายเข้า • การย้ายเข้า เป็นการค้นหาเด็กนักเรียนจากเลขประจำตัวประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลกลางของระบบ DMC56 เมื่อค้นหาพบแล้วให้ทำการระบุวันที่เข้าเรียน ชั้น ห้อง เลขประจำตัวนักเรียน กรอกข้อมูลส่วนตัวของนักเรียนจนครบถ้วนจึงกดบันทึก • - ไม่มีเลข 13 หลักให้เข้าไปกรอกข้อมูลในเมนู “เพิ่มนักเรียน” • - ค้นหาเลข 13 หลักในหน้าย้ายเข้าไม่พบ ให้ไปกรอกข้อมูลในเมนู “เพิ่มนักเรียน” เช่นกัน • ข้อควรจำ • ทุกครั้งที่กรอกข้อมูลนักเรียนเนื่องจากข้อมูลที่ให้กรอกมีเยอะมาก ให้ลองกด Enter ซักครั้งเพื่อให้แสดงผลว่าควรกรอกในช่องไหนข้อมูลถึงจะครับถ้วน ในครั้งแรกหน้าจอจะแจ้งเตือนและแสดงผลเป็นช่องสีแดงขึ้นมา ให้เข้าไปกรอกในช่องสีแดงให้ครบถ้วน (ถ้าไม่ทราบข้อมูลในบางช่อง ใส่เป็น – แทน) กดค้นหาเพื่อดูสถานการณ์ย้ายเข้า ตรวจว่าเข้าสำเร็จหรือไม่ Data Management Center 2013

  21. ในระบบ DMC56 สถานะการย้ายในหน้ารายการย้ายเข้านักเรียนมีความหมายดังนี้ • สำเร็จ หมายความว่ามีการย้ายเข้า และโรงเรียนเก่าย้ายออก/จบการศึกษา/จำหน่ายมาเรียบร้อยแล้ว เด็กคนนี้จะมีชื่ออยู่ในทะเบียนทันที • รอเข้า/ไม่สำเร็จหมายความว่า โรงเรียนเก่ายังไม่ได้ทำการย้ายออก/จบการศึกษา/จำหน่ายเด็กนักเรียนคนนี้ออกจากโรงเรียน หรือ โรงเรียนเก่าทำการเลื่อนชั้นให้เด็กไปศึกษาอยู่ในโรงเรียนต่อไป เด็กคนนี้จะอยู่ในรายการย้ายเข้าและยังไม่ถูกนำไปอยู่ในทะเบียนนักเรียน ให้กดที่ปุ่ม หลังชื่อโรงเรียนเดิม จะปรากฏหน้าต่างใหม่ แสดงเบอร์ติดต่อเจ้าหน้าที่เขตและเจ้าหน้าที่โรงเรียนประสานงานให้ทำการย้ายเด็กออกจากโรงเรียนเดิม เนื่องจากตัวเด็กอยู่ที่รร.ของคุณแล้วจริง Data Management Center 2013

  22. เพิ่มนักเรียน • การเพิ่มนักเรียน เป็นการกรอกข้อมูลส่วนตัวของนักเรียนใหม่ที่ค้นหาเลขบัตรประชาชนจาก เมนู “ย้ายเข้า” แล้วไม่พบข้อมูล (เป็นเด็กใหม่ที่พึ่งเข้าเรียน,ย้ายมาจากนอกสังกัด หรือเป็นเด็กที่ถูกลบข้อมูลไปในปีการศึกษาก่อนทำให้ไม่พบในฐานข้อมูล DMC) • ข้อควรจำ • - กรอกข้อมูลในหน้าเพิ่มนักเรียนให้ครบถ้วน โดยเฉพาะช่องสีแดงเป็นการบังคับให้มีข้อมูล ในช่อง ห้ามเว้นว่าง ถ้าไม่ทราบหรือไม่มีข้อมูลในช่องใดให้ใส่ – หรือ 0 ตามคำอธิบายแต่ละชนิด • - เลข 13 หลัก ถ้าไม่มีให้ใส่เป็นรหัส G รหัส G สร้างด้วยตัวอักษร G ตามด้วยรหัสsmis8 หลัก และตัวเลขไล่ไปอีก 4 หลัก สำหรับคำแนะนำให้ใช้ G รหัส smisและปีคือ 56 ตามด้วยเลขรันตามลำดับ 2 หลัก • เพื่อกันความสับสนในการตั้งรหัส G ในแต่ละปีตัวอย่าง G990000015601 , G990000015602 , G990000015603 • - ในการเพิ่มนักเรียน/การย้ายเข้านักเรียน ให้ตรวจคำนำหน้าชื่อและเพศให้ตรงกันทุกครั้ง ไม่งั้นระบบจะไม่นับจำนานในทะเบียนนักเรียน • - ถ้าเพิ่มสำเร็จระบบจะนับยอดให้ทันที Data Management Center 2013

  23. ข้อมูลเพิ่มนักเรียน • 1. เลข 13 หลัก 2. เลขประจำตัวนักเรียน • 3. ห้องเรียน 4.ชนิดบัตร บัตรประชาชนหรืออื่นๆ สำหรับเด็ก G • 5. คำนำหน้าชื่อ 6. เพศ 7. ชื่อ นามสกุล 8. วันเกิด • 9. จังหวัดที่เกิด 10. เชื้อชาติ 11. สัญชาติ 12.ศาสนา • 13. ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน,โทรศัพท์ติดต่อ • 14. ที่ปัจจุบัน, โทรศัพท์ติดต่อ 15. การเดินทาง • 16. ระยะเวลาเดินทางมาโรงเรียน • 17. ระยะห่างจากรร. ตามชนิดเส้นทางต่างๆ • 18. น้ำหนัก ส่วนสูง • 19. ข้อมูลครอบครัว-สถานะภาพสมรสของบิดามารดา ข้อมูลจำนวนพี่น้อง • 20. ข้อมูลครอบครัว – บิดา , มารดา และผู้ปกครอง Data Management Center 2013

  24. 2. ย้ายออก • เป็นการบันทึกข้อมูลการจำหน่ายนักเรียนแบบย้ายออก ซึ่งหมายความว่านักเรียนในปีได้ออกไปศึกษาต่อที่อื่นแล้ว หลังทำการบันทึก นักเรียน จะถูกลบออกจากทะเบียนนักเรียนทันที Data Management Center 2013

  25. 2. ย้ายออก • เป็นการบันทึกข้อมูลการจำหน่ายนักเรียนแบบย้ายออก ซึ่งหมายความว่านักเรียนในปีได้ออกไปศึกษาต่อที่อื่นแล้ว หลังทำการบันทึก นักเรียน จะถูกลบออกจากทะเบียนนักเรียนทันที • ข้อควรจำ • - ให้ติ๊กที่ข้างหน้านักเรียนคนที่ต้องการย้ายออก • (ถ้าไม่ติ๊กโปรแกรมจะไม่ย้ายออกให้เด็กคนนั้น) • - ระบุวันที่ย้ายออกถ้าไม่ระบุจะเป็นวันปัจจุบัน • - การย้ายออก ในระบบ DMC56 เมื่อทำการกดบันทึกแล้วจะเป็นการบันทึกไว้ว่าเด็กออกไปแล้ว และลบนักเรียนคนดังกล่าวออกจากทะเบียนทันที ดังนั้นถ้าหากทำออกผิดคน วิธีแก้ไขคือ การทำการย้ายเข้านักเรียนคนเดิม เข้ามายังห้องเดิม ชั้นเดิมและเลขประจำตัวนักเรียนเดิม Data Management Center 2013

  26. 3. ออกกลางคัน / จำหน่าย • การออกกลางคัน / จำหน่าย เป็นการบันทึกข้อมูลการจำหน่ายนักเรียน,หรือการจำหน่ายนักเรียนออกกลางคัน หลังทำการบันทึกแล้ว นักเรียนจะถูกลบออกจากทะเบียนนักเรียนทันที Data Management Center 2013

  27. 3. ออกกลางคัน / จำหน่าย(ต่อ) • ข้อควรจำ • - ให้ติ๊กที่ข้างหน้านักเรียนคนที่ต้องการจำหน่าย • (ถ้าไม่ติ๊กโปรแกรมจะไม่จำหน่ายเด็กคนนั้น) • - ระบุวันที่ย้ายออกถ้าไม่ระบุจะเป็นวันปัจจุบัน • -ไม่ให้เจ้าหน้าที่โรงเรียนทำการ (จำหน่าย)เรียนจบชั้นสูงสุด แทนการทำจบการศึกษา เพราะจะทำให้ข้อมูลสิ้นปีไม่ตรงกับข้อมูลเด็กก่อนสอบปลายภาคสิ้นปีทันที • - การจำหน่ายในระบบ DMC56 เมื่อทำการกดบันทึกแล้วจะเป็นการบันทึกไว้ว่าเด็กออกไปแล้ว และลบนักเรียนคนดังกล่าวออกจากทะเบียนทันที ดังนั้นถ้าหากทำจำหน่ายผิดคน วิธีแก้ไขคือ การทำการย้ายเข้านักเรียนคนเดิม เข้ามายังห้องเดิม ชั้นเดิมและเลขประจำตัวนักเรียนเดิม Data Management Center 2013

  28. 4. แผนการรับนักเรียน • ในปี 2557 โรงเรียนมีแผนว่าจะรับนักเรียนในชั้นไหนเป็นจำนวนกี่คน

  29. 5. กรอกเกรด GPA • การกรอกข้อมูล GPA สิ้นปีการศึกษานี้ ให้กรอกเป็นรายคน โดยที่จะต้องกรอกเกรดรายสาระวิชาทั้ง 8 และเกรดเฉลี่ยรวมทุกวิชานักเรียนทุกคนที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียน • สามารถทำได้ 2 วิธีคือ • 1. กรอกบนหน้าเว็บ • 2. กรอกในไฟล์ Excel ที่ดาวน์โหลดจากระบบแล้วอัพโหลดเข้ามาผ่านหน้าเว็บอีกครั้ง

  30. กรอกเกรด GPA • ข้อควรจำ • - ให้ทำอย่างใดอย่างหนึ่ง กรอกหน้าเว็บ หรือกรอกด้วยไฟล์ อย่าทำซ้ำซ้อนกันสองวิธี • - การกรอกเกรดให้กรอก GPA สิ้นปีการศึกษา (เฉพาะเทอม 2/56) ของชั้นประถม,มัธยม อนุบาลให้ข้ามไปเว้นว่างไว้ ห้ามกรอก 0หรือ - • - เกรดรายสาระวิชา หากมีหลายวิชาย่อยให้นำเกรดมารวมกันแล้วหารจำนวนวิชาที่เรียนแล้วปัดขึ้นลงให้ลงตัวตามวิธี

  31. กรอกเกรด GPA

  32. กรอกเกรด GPA • - เกรดเฉลี่ยทุกสาระวิชา ให้เอาเกรดสิ้นปีการศึกษาของนักเรียนกรอกมาได้เลย - เกรดรายสาระวิชาจะเป็น drop down ให้เลือกในหน้าเว็บ • - ในไฟล์ Excel ขอให้กรอกตามนี้ I (ไอ อักษรตัวใหญ่) = รอ , 0 , 0.5 , 1 , 1.5 , 2, 2.5 , 3, 3.5, 4, มผ. เว้นว่างไว้ , มส. เว้นว่างไว้

  33. กรอกเกรด GPA ในไฟล์ดาวน์โหลด ขั้นตอนที่ 1"ดาวโหลดฟอร์มกรอกเกรด GPA" (จะได้รายชื่อเด็กนักเรียนทั้งโรงเรียนมาเป็นไฟล์ Excel) หรือหากต้องการจะกรอกทีละห้อง ให้ใส่เลขห้อง, ทีละชั้น ให้เลือกชั้นก่อนจะกดปุ่มดาวโหลดฟอร์ม (ไฟล์ Excel สามารถจะอัพโหลดได้เรื่อยๆ ทำทีละห้องหรือทีละชั้นก็ได้)

  34. กรอกเกรด GPA ในไฟล์ดาวน์โหลด ขั้นตอนที่ 2กรอก GPA ในไฟล์ Excel เฉพาะ ป. 1-6 , ม. 1-6 , ปวช 1-3 โดยที่ชั้นอนุบาลไม่ต้องกรอก เว้นว่างไว้ได้เลย หลังจากนั้นให้กรอกเกรดเฉลี่ยตาม รายสาระวิชาให้ครบรวมถึงเกรดเฉลี่ยรวมทุกวิชาด้วย ไฟล์ Excel สามารถนำไปเรียงลำดับชั้น, ห้องสลับนักเรียนขึ้นลงได้ตามสะดวก โดยที่หัวข้อตารางด้านบนให้คงไว้อยู่ที่เดิมและห้ามสลับตำแหน่งแนวนอน สามารถนำข้อมูลไปคัดลอก วางไว้ในไฟล์ Excel ใหม่ให้อยู่ในรูปแบบคงเดิมได้ โดยไฟล์ที่สร้างขึ้นใหม่ต้องบันทึกอยู่ในรูปแบบ Microsoft Excel 97-2003 (.xls) เท่านั้น ไม่ใช่ 2007 ขึ้นไป (.xlsx)

  35. กรอกเกรด GPA ในไฟล์ดาวน์โหลด ขั้นตอนที่ 3เมื่อกรอกข้อมูลในไฟล์ Excel เสร็จเรียบร้อย ให้กดที่ปุ่ม “นำเข้าไฟล์เกรด GPA" ขั้นตอนที่ 4กดปุ่ม "+ อัพโหลดไฟล์" ขั้นตอนที่ 5กดปุ่ม Browse, Choose File เลือกไฟล์ Excel เกรดนักเรียนรายคนที่เราต้องการจะอัพโหลด เสร็จแล้วกดปุ่ม "บันทึก" เพื่อนำเข้าไฟล์เกรดที่ได้กรอกข้อมูลไว้ ข้อควรจำ หลังจากอัพโหลดไฟล์ไปแล้ว ไปทำอย่างอื่นก่อน ราวๆ 15-20 นาที กลับมาเปิดเมนูอัพโหลดอีกรอบ อย่าเปิดหน้าผลอัพโหลดค้างไว้ หน้าสถานะมันจะไม่ reload เอง เราต้องเข้าหน้าสถานะอัพโหลดแล้วกดค้นหาใหม่เอง ถึงจะเห็นว่าสถานะเปลี่ยนแปลงไป ถ้าเปิดค้างไว้ก็จะเห็นว่า "รอ" ไปตลอดไม่มีการเปลี่ยนแปลง

  36. กรอกเกรด GPAในไฟล์ดาวน์โหลด คำอธิบายสถานะอัพโหลด - รอ แสดงว่ายังไม่นำเข้า - นำเข้าแล้วพบปัญหาบางอย่าง คือผ่านไม่ครบทุกคน คนที่เกรดเข้าก็เข้าไปแต่บางคนติดปัญหาบางอย่าง ต้องดู error ด้านขวาประกอบ - นำเข้าสำเร็จ คือผ่านทุกคนเกรดบันทึกเข้าไปเรียบร้อยแล้ว

  37. กรอกเกรด GPAกรอกบนหน้าเว็บ • ขั้นตอนที่ 1แนะนำให้กรอกทีละห้องเรียน โดยเข้าเมนูปรับปรุงข้อมูล > GPA แล้วให้เลือกชั้นเรียน และระบุห้องเรียนที่จะกรอกแล้วกดปุ่ม "ค้นหา" • ขั้นตอนที่ 2หลังจากค้นหานักเรียนโดยชั้นและห้องแล้ว เลื่อนลงไปด้านล่างจะเห็นรายการนักเรียนให้กรอกเกรดเฉลี่ยตามรายสาระวิชาให้ครบรวมถึงเกรดเฉลี่ยรวมทุกวิชาด้วย ติ๊กข้างหน้าช่องลำดับนักเรียนที่จะบันทึกด้วย (ระบบจะไม่บันทึกคนที่ไม่ติ๊กไว้)แล้วบันทึกข้อมูลโดยกดที่ปุ่ม "บันทึก" ระบบจะแสดงผลว่าบันทึกสำเร็จหรือไม่

  38. กรอกเกรด GPAกรอกบนหน้าเว็บ • ขั้นตอนที่ 3 หลังจากการกดบันทึกไปแล้ว • ถ้าแสดงผลว่าบันทึกสำเร็จแล้ว (สีฟ้า) หน้าจอจะกลับไปแสดงผลเหมือนขั้นตอนที่ 1 ให้เลือกชั้นและหรือเลือกห้องต่อไปแล้วทำการกรอกและบันทึกข้อมูลจนครบทั้งโรงเรียน • ถ้าแสดงผลว่าบันทึกไม่สำเร็จ (สีแดง)ให้ตรวจสอบว่า ติ๊กข้างหน้าช่องลำดับเด็กคนที่จะบันทึกแล้วหรือยัง ถ้ายังไม่ติ๊กให้ทำการติ๊กด้วย

  39. กรอกข้อมูล O-NET การกรอกข้อมูล O-NET สิ้นปีการศึกษานี้ ให้กรอกเป็นรายคน โดยที่จะต้องกรอกเกรดรายสาระวิชาทั้ง 8 ซึ่งสามารถทำได้ 2 วิธี คือ 1. กรอกบนหน้าเว็บ 2. อัพโหลดไฟล์ผลคะแนน ปี 2556 จากเว็บประกาศและรายงานผลคะแนนโอเน็ตสำหรับโรงเรียน http://www.onetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx

  40. การกรอก O-NET บนหน้าเว็บ ขั้นตอนที่ 1หลังจากเข้าเมนูปรับปรุงข้อมูล > O-NET แล้ว ให้เลือกชั้นเรียนที่ต้องการจะกรอก(ผล O-NET จะมีชั้นป. 6 , ม. 3 , ม. 6 เท่านั้นชั้นอื่นให้ข้ามไปไม่ต้องกรอก) หรือเลือกห้องหากต้องการกรอกทีละห้องด้วย แล้วกดปุ่ม "ค้นหา" ขั้นตอนที่ 2 เลื่อนลงไปด้านล่างจะเห็นรายการนักเรียนให้กรอกเกรดเฉลี่ยตามรายสาระวิชา ติ้กข้างหน้าช่องลำดับนักเรียนที่จะบันทึกด้วย (ระบบจะไม่บันทึกคนที่ไม่ติ้กไว้)แล้วบันทึกข้อมูลโดยกดที่ปุ่ม "บันทึก" ระบบจะแสดงผลว่าบันทึกสำเร็จหรือไม่

  41. การกรอก O-NET บนหน้าเว็บ การกรอกเกรดจากไฟล์ผลคะแนน O-NET หากต้องการกรอกหน้าเว็บ ให้ดูจากแถบช่วงข้อมูลด้านขวาในไฟล์ผลคะแนน O-NET ที่จะแสดงผลเป็นเกรดมาแล้ว (ตัวอย่างทำไฮไลท์สีเหลืองด้านขวาไว้) ให้เทียบรหัสวิชาให้ถูกต้องแล้วนำมากรอกในหน้าเว็บระบบ DMC

  42. การกรอก O-NET บนหน้าเว็บ ขั้นตอนที่ 3หลังจากการกดบันทึกไปแล้ว ถ้าแสดงผลว่าบันทึกสำเร็จแล้ว (สีฟ้า) หน้าจอจะกลับไปแสดงผลเหมือนขั้นตอนที่ 1 ให้เลือกชั้นและหรือเลือกห้องต่อไปแล้วทำการกรอกและบันทึกข้อมูลจนครบ ถ้าแสดงผลว่าบันทึกไม่สำเร็จ (สีแดง)ให้ตรวจสอบว่า ติ๊กข้างหน้าช่องลำดับเด็กคนที่จะบันทึกแล้วหรือยัง ถ้ายังไม่ติ๊กให้ทำการติ๊กด้วย

  43. การอัพโหลดไฟล์ Excel ผลคะแนน O-NET ให้ดาวโหลดไฟล์ผลคะแนน O-NET ปี 2556 จาก"เว็บประกาศและรายงานผลคะแนนโอเน็ตสทศ"เฉพาะระดับชั้น ป.6,ม.3 และ ม.6 เท่านั้นเลือกเมนู ผลการสอบ O-NET รายบุคคล > ปีการศึกษา 2556 >ระดับชั้นข้อควรจำ - ดาวโหลด Excel (ห้ามแก้ไข,เปลี่ยนชื่อหรือทำการบีบอัดไฟล์ ให้ใช้ไฟล์ที่ดาวโหลดมาเลย) ทำการอัพโหลดในระบบ DMC โดยที่กดปุ่ม "นำเข้าไฟล์ผลคะแนน O-NET" ด้านบน - สามารถอัพโหลดไฟล์เข้ามาทีละระดับชั้นได้เพราะมีไฟล์แยกของ ป.6,ม.3 และ ม.6 

  44. การกรอกผลคะแนน NT ให้ดาวโหลดไฟล์ผลคะแนน NT ปีการศึกษา 2556 เฉพาะระดับชั้น ป.3 เท่านั้น(ขณะนี้ยังไม่ประกาศผล NT2556)จาก "รายงานผลประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับเจ้าหน้าที่โรงเรียน" http://nt-result.bopp.go.th/ เลือกเมนู ระดับบุคคล > ปรนัย แล้วกดปุ่มสร้างรายงาน ***สามารถดูวีดิโอวิธีการดาวโหลดไฟล์ NTผ่านหน้าระบบ DMC

  45. การยืนยันข้อมูล/รายงานข้อมูลการยืนยันข้อมูล/รายงานข้อมูล - ยืนยันผ่านระบบ DMC ไปที่ โรงเรียน > เมนู จำนวนนักเรียนแยกชั้นแยกเพศ ในหน้านี้ให้ตรวจสอบข้อมูลของนักเรียน สีของตัวเลขจำนวนมีความหมายดังนี้สีแดง คือ จำนวนที่ต้องกรอกให้ครบถ้วนทุกหัวข้อก่อนยืนยันสีเหลือง คือ จำนวนข้อมูลที่ไม่บังคับกรอกให้ครบในตอนนี้ก็สามารถยืนยันได้สีดำ คือ จำนวนข้อมูลที่ครบถ้วนถูกต้องแล้ว (อ้างอิงจากจำนวนนักเรียนทั้งหมด

  46. การยืนยันข้อมูล/รายงานข้อมูลการยืนยันข้อมูล/รายงานข้อมูล ในหน้านี้ให้ตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ถ้าเป็น สีแดงปุ่มยืนยันข้อมูลจะไม่ขึ้น ต้องตรวจสอบหัวข้อนั้นและแก้ไขให้เรียนร้อย ข้อควรจำ ในหน้านี้ถ้าเป็นมีรายการข้อมูลเป็น สีแดงปุ่มยืนยันข้อมูลจะไม่ขึ้น ต้องตรวจสอบหัวข้อนั้นและแก้ไขให้เรียนร้อย จึงกดยืนยันข้อมูล และเมื่อยืนยันข้อมูลแล้วจะไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ หากต้องการแก้ไขให้ประสานที่เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

  47. วิธีการแจ้งปัญหาการรายงานระบบ DMC • 1. แจ้งที่กลุ่มนโยบายและแผน สพป.มค.3 • เบอร์โทร 0-4376-2018 หรือ 0-8568-1337-7 • 0898411908 • 2. Facebook กลุ่มสารสนเทศ สพป.มค.3 • 3. แจ้งที่กลุ่มสารสนเทศ สำนักนโยบายและแผน สพฐ. • ที่ http://bug.bopp-obec.info Data Management Center 2013

More Related