1 / 61

ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail 08-1801-6374

ความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล : การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบคุณภาพแนวทางรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. TQA. ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374. ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้. ทำไมต้อง PISA. อะไรคือ TQA. คุณลักษณะของ TQA.

julie
Download Presentation

ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail 08-1801-6374

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลความเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล : การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบคุณภาพแนวทางรางวัลคุณภาพแห่งชาติ TQA ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374

  2. ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้........ประเด็นสนทนาเพื่อการนำไปใช้ในวันนี้........ • ทำไมต้อง PISA • อะไรคือ TQA • คุณลักษณะของ TQA • องค์ประกอบหลักของ TQA • ผู้นำระดับสูงคือคนสำคัญของ TQA • ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล • บันได ๑๐ ขั้นสู่ความสำเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล • เกณฑ์ประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ • การเขียนรายงานเพื่อขอรับการตรวจประเมิน

  3. ทำไมต้อง ? PISA

  4. The Programme of International Student Assessment: PISA ริเริ่มโดย “ องค์กรเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ” Organization for Economic Co-operation and Development: OECD”

  5. เพื่อ........... ตรวจสอบศักยภาพและความรู้พื้นฐานเยาวชนที่จบการศึกษาภาคบังคับ อายุประมาณ ๑๕ ปี วัตถุประสงค์หลัก....

  6. ต้นแบบของการเรียนรู้ตลอดชีวิตเน้น • “ความรู้และทักษะใหม่ ” เพื่อการ • ปรับตัวให้เข้ากับโลกที่เปลี่ยนแปลง หลักการ PISA.... • ไม่ได้ประเมินเนื้อหาความรู้ในหลักสูตร • มุ่ง “การแก้ปัญหา”

  7. เป็นการประเมินสมรรถนะเป็นการประเมินสมรรถนะ หรือ Literacy หรือ การรู้เรื่อง ๓ ประการ • Reading literacy: การรู้เรื่องการอ่าน • Mathematical literacy: การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ • Scientific literacy: การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์

  8. การรู้เรื่องการอ่าน ประเมินความสามารถติดตามความหมายของคำ การคิดย้อนกลับ และสะท้อนถึงความเข้าใจการเขียนว่าเขียนให้ใครอ่าน ความสามารถในการตีความจากโครงสร้างของเรื่อง และลักษณะเด่นของการเขียน ความรู้และศักยภาพในการสร้างสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ

  9. การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ประเมินมากกว่าการคิดเลขและทำโจทย์แต่ให้รู้จักรูปคณิตศาสตร์ การจัดทำข้อมูล ขอบเขตและข้อจำกัดของแนวคิดคณิตศาสตร์ • - ความสามารถติดตามและประเมินข้อโต้แย้งเชิงคณิตศาสตร์ • - เสนอปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ • - เลือกวิธีการนำเสนอสถานการณ์เชิงคณิตศาสตร์ • - ความสามารถตัดสินปัญหาบนพื้นฐานของคณิตศาสตร์ เน้นความคิดสร้างสรรค์และรอบคอบ

  10. การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ • - ประเมินการรู้กระบวนการ (process) • - การรู้แนวคิดและเนื้อหา (concepts & content) • - การรู้จักใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ เข้าใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสังคม ในสื่อมวลชน และการตัดสินใจประเด็นของโลกที่เกี่ยวข้องกับตัวเราทั้งในปัจจุบันและอนาคต

  11. ใช้การอ่าน คิดวิเคราะห์ แล้วตั้งคำถาม เป็นคำถามเปิดที่สะท้อนความคิด ๒ ใช้เหตุผลของการตอบ ๓ เป็นการมองไกลในอนาคต ๔ ลักษณะเด่น PISA.... ถามความรู้และกระบวนการที่ใช้ดำเนินชีวิต ๕ ๖ เป็นคำตอบที่เขียนได้หลายแบบ ๗ ความถูกต้องขึ้นอยู่กับเหตุผลที่ใช้

  12. ระยะที่ ๑ (Phass 1) • - PISA 2000 • - PISA 2003 • - PISA 2006 • ระยะที่ ๒ (Phass 2) • - PISA 2009 เน้นการอ่าน ๖๐ % • - PISA 2012 เน้นคณิตศาสตร์ ๖๐ % • - PISA 2015 เน้นวิทยาศาสตร์ ๖๐ % กรอบเวลา PISA....

  13. ประเทศในกลุ่ม OECD (32 ประเทศ) • -ฟินแลนด์ อันดับ ๑ คะแนนเฉลี่ย ๕๔๓ • - เกาหลีใต้ อันดับ ๒ คะแนนเฉลี่ย ๕๔๑ • ประเทศนอกกลุ่ม OECA (36 ประเทศ) • -จีน (เซี่ยงไฮ้) อันดับ ๑ สูงสุด คะแนนเฉลี่ย ๕๗๗ • - ฮ่องกง คะแนนเฉลี่ย ๕๔๕ • - สิงคโปร์ คะแนนเฉลี่ย ๕๔๓ ผลการประเมิน PISA2009....

  14. ประเทศไทย • -การรู้เรื่องการอ่าน ได้ ๔๒๑ คะแนน • - การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ได้ ๔๑๙ คะแนน • - การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ได้ ๔๒๕ คะแนน ผลการประเมิน PISA2009.... คะแนนเฉลี่ย ๔๒๑ ลำดับที่ ๕๐ จาก ๖๘ ประเทศ

  15. ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) องค์ประกอบสำคัญโรงเรียนมาตรฐานสากล • เป็นเลิศวิชาการ • สื่อสารสองภาษา • ล้ำหน้าทางความคิด • ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ • ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก • การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล • การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ( Quality System Management)

  16. ผลลัพธ์ที่เกิดกับนักเรียน คือปลายทางที่มุ่งให้เกิดความสำเร็จ • ภาษาอังกฤษ • ภาษาไทย การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ผู้เรียน WCS • มุ่งมั่นเรียนรู้ • เก่งคิด • เก่งคน • เก่ง ICT • จิตสาธารณะ ความเป็นคนไทย ความเป็นพลโลก

  17. การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานสากล การจัดการเรียนรู้ของเดิม:มี ๔ สาระได้แก่ ทฤษฎีความรู้ การเขียนเรียงความชั้นสูง โลกศึกษา และกิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์ การจัดการเรียนรู้ของใหม่:มี ๓ สาระได้แก่ IS1 (Research and Knowledge) การศึกษาค้นคว้าและการสร้างองค์ความรู้ IS2 (Communication and Presentation) การสื่อสารและการนำเสนอ IS3 (Social Service Activity) การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม

  18. การจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล ใช้บันได ๕ ขั้นของการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ขั้นที่ ๑ การตั้งประเด็นคำถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis formulation) ขั้นที่ ๒ การสืบค้นความรู้ (Searching for Information) ขั้นที่ ๓ การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge formation) ขั้นที่ ๔ การสื่อสารการนำเสนอผลงาน (Effective Communication) ขั้นที่ ๕ การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public service)

  19. การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ( Quality System Management) ใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ TQA: THAILAND QUALITY AWARD

  20. รางวัลคุณภาพแห่งชาติThailand Quality Award: TQA T Q A รางวัลคุณภาพแห่งชาติเป็นรางวัลอันทรงเกียรติซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง เป็นเครื่องหมายแสดงถึงความเป็นเลิศในการบริหารจัดการขององค์กรที่ทัดเทียมกับมาตรฐานโลก คืออะไร

  21. ความเป็นมา.... • วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๓๙ วันลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี TQA • กำหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์การเพิ่มผลผลิตของประเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ • มอบให้สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักในการประสานความร่วมมือ เพื่อเผยแพร่ สนับสนุน และผลักดันในการพัฒนา ขีดความสามารถการบริหารจัดการตามเกณฑ์ที่อยู่ในระดับมาตรฐานโลก

  22. รางวัลคุณภาพแห่งชาติ....รางวัลคุณภาพแห่งชาติ.... • เป็นรางวัลระดับมาตรฐานโลก ซึ่งมีพื้นฐานทางด้านเทคนิค และกระบวนการตัดสินเช่นเดียวกับรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (The Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) TQA เป็นต้นแบบของรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่หลายๆประเทศทั่วโลกนำไปประยุกต์ใช้

  23. รางวัลคุณภาพแห่งชาติ...รางวัลคุณภาพแห่งชาติ... 1.ช่วยปรับปรุงวิธีดำเนินการ ความสามารถ และผลดำเนินการขององค์กร มีบทบาท ที่สำคัญ ๓ ประการ 2.กระตุ้นให้มีการสื่อสาร และแลกเปลี่ยนข้อมูลวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างองค์กรต่างๆ 3.เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดการ การดำเนินการ เป็นแนวทางในการวางแผน และช่วยเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ขององค์กร

  24. เกณฑ์รางวัลคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ เกณฑ์รางวัลคุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ • เป็นเกณฑ์ที่ใช้ประเมินสถาบันการศึกษาในภาพรวม • อยู่ในกรอบของการดำเนินงานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ คืออะไร • สามารถใช้ประเมินได้ทั้งโรงเรียนและเขตการศึกษา • เป็นที่ยอมรับกันในประเทศชั้นนำต่างๆทั่วโลก • เป็นเกณฑ์เดียวกับเกณฑ์การประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ

  25. เกณฑ์คุณภาพการศึกษา... 1. เพื่อให้โรงเรียนต่างๆได้ใช้เกณฑ์นี้ไปพัฒนาปรับปรุงการดำเนินการ ขีดความสามารถ และผลลัพธ์ให้ดีขึ้น วัตถุประสงค์ 2. เป็นกลไกในการสื่อสารและการแบ่งปันเรียนรู้จากวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ 3. เป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้าใจและทบทวนผลการดำเนินการในระบบการบริหารจัดการของโรงเรียน รวมทั้งเป็นแนวทางในการวางแผนและเป็นโอกาสในการเรียนรู้ของโรงเรียนเอง

  26. เกณฑ์คุณภาพการศึกษา... 1. ใช้เป็นแนวทางที่บูรณาการในการจัดการผลการดำเนินการของตนเอง 2. ทำให้การจัดการศึกษามีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อประโยชน์กับผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งผลต่อคุณภาพและความยั่งยืน จะช่วยโรงเรียนได้อย่างไร ? 3. ช่วยปรับปรุงประสิทธิผลและขีดความสาสมารถในการบริหารจัดการทั่วทั้งองค์กร 4. เกิดการเรียนรู้ทั้งในระดับองค์กรและบุคคล

  27. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... ๑ • ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และกระบวนการ มุ่งเน้น ผลลัพธ์ • ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า • ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร • ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร และการกำกับดูแลองค์กร • ผลลัพธ์ด้านการเงินและการตลาด

  28. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... ๒ • จุดเน้นอยู่ที่ผลลัพธ์ ไม่ใช่วิธีปฏิบัติ เครื่องมือ หรือโครงสร้าง ไม่กำหนดวิธีการ • การเลือกใช้เครื่องมือ เทคนิค ระบบ และโครงสร้างขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆและลักษณะเฉพาะขององค์กร • มุ่งเน้นข้อกำหนดเพราะจะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจ และสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม

  29. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... • เป้าประสงค์สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ๓ สนับสนุน มุมมองเชิงระบบ • เป็นรากฐานของโครงสร้างขององค์กรที่บูรณาการระหว่างค่านิยมและแนวคิดหลัก โครงร่างองค์กร เกณฑ์ แนวทางให้คะแนน การมุ่งเน้นผลลัพธ์ การเป็นเหตุและผล และการเชื่อมโยงระหว่างหัวข้อต่างๆ • เป็นวงจรการเรียนรู้ PDCA (PDSA)

  30. คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์...คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์... • มีข้อกำหนดเน้นที่ผลการดำเนินการ มี ๗ หมวด ๑๗ หัวข้อ ๔๑ ประเด็นพิจารณา และ ๘๔ คำถามเจาะลึก ๔ สนับสนุน การตรวจประเมินที่เน้นเป้าประสงค์ • แนวทางให้คะแนน อธิบายถึงมิติต่างๆของการตรวจประเมิน ได้แก่ การะบวนการและผลลัพธ์ เพื่อที่จะนำไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินการในทุกด้าน เครื่องมือการบริหารจัดการที่สำคัญ

  31. การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาไปใช้...เพื่อดูว่า...การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาไปใช้...เพื่อดูว่า... • โรงเรียนมีการบริหารถูกทิศทางภายใต้การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ • โรงเรียนเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และมุ่งมั่นตอบสนองความต้องการดังกล่าวได้ • โรงเรียนมีวิธีการรวบรวมและใช้สารสนเทศที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการวางแผนและบรรลุเป้าหมายทั้งในปัจจุบันและอนาคต • มีวิธีการพัฒนาและใช้ความสามารถของครูและบุคลากร • มีวิธีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสีย ความผิดพลาด ผู้เรียนมีการเรียนรู้ตรงตามเป้าหมาย และการบริการ • การปรับปรุงในแง่มุมอื่นๆที่ดีจากมุมมองของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน บุคลากร ระบบงานและการเงิน

  32. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับการตั้งรับปัญหา เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน 0-25 % การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกิจกรรมมากกว่าเป็นกระบวนการ ส่วนใหญ่ตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ขาดการกำหนดเป้าประสงค์ที่ดี

  33. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับเริ่มเป็นระบบ 30-45 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเริ่มต้นด้วยการใช้กระบวนงานที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมิน ปรับปรุง เริ่มประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน มีการกำหนดกลยุทธ์ เป้าประสงค์เชิงปริมาณในบางเรื่อง

  34. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับ สอดคล้องไปทางเดียวกัน 50-65 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกระบวนงานที่สามารถทำซ้ำได้ มีการประเมินอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง โดยมีการแบ่งปันความรู้ การประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน กระบวนการตอบสนองกลยุทธ์และเป้าประสงค์ของโรงเรียนในหลายด้าน

  35. ระดับการพัฒนาการขององค์กรระดับการพัฒนาการขององค์กร ระดับ สอดคล้องไปทางเดียวกัน 70-100 % เป้าประสงค์ เชิงกลยุทธ์และ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติมีลักษณะเป็นกระบวนงานที่เป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ทำซ้ำได้ และมีการประเมินอย่างสม่ำเสมอเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง มีการปรับปรุงโดยความร่วมมือของหน่วยงานอื่น ผ่านการวิเคราะห์ การแบ่งปันสารสนเทศและความรู้ ส่งผลให้การทำงานข้ามหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกระบวนการ ใช้ตัวชี้วัดติดตามความก้าวหน้าของเป้าประสงค์ มีนวัตกรรมการปฏิบัติงานที่สำคัญ

  36. แนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่าง...แนวคิดความเป็นเลิศที่สร้างความแตกต่าง... องค์กรที่ดี องค์กรที่ดีกว่า • ชี้นำโดยผู้นำ • การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ • มุ่งเน้นผลผลิต • มุ่งเน้นที่ผู้เรียน • ได้มาตรฐาน • ได้การเรียนรู้ขององค์กร • เห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติ คู่ความร่วมมือ • คิดสวนทางกับผู้ส่งมอบ • มุ่งความคล่องตัว • ปฏิบัติงานตามเงื่อนเวลา • มีผลงานทีละไตรมาส • มุ่งเน้นอนาคต • สร้างนวัตกรรม • ปฏิบัติตามคู่มือ • ตัดสินและบริหารตามความรู้สึก • บริหารจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • รับผิดชอบต่อสังคมในมุมกว้าง • ปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับ • เน้นการสร้างคุณค่าและผลลัพธ์ • มุ่งเน้นผลเฉพาะหน้า • มุมมองเชิงภาระหน้าที่ • มุมมองเชิงบูรณาการของระบบ

  37. คำถามที่ต้องการคำตอบของเกณฑ์ TQA ๑ อะไรคือเป้าหมายขององค์กร ? ๒ อะไรคือความท้าทายขององค์กร ? ๓ อะไรคือบริบทสำคัญขององค์กร ? ๔ การบริหารงานของเราเป็นระบบแล้วหรือยัง ? ๕ ระบบของเรามีประสิทธิภาพดีเพียงพอที่ทำให้บรรลุเป้าหมายหรือไม่ ? ๖ เราเข้าใกล้เป้าหมายมากขึ้นหรือไม่ ? ๗ เราเอาชนะความท้าทายได้หรือไม่ ? ๘ เราควรต้องพัฒนาอะไรเพิ่มเติมอีกบ้าง ?

  38. องค์ประกอบหลักของรางวัลคุณภาพแห่งชาติองค์ประกอบหลักของรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์ และกระบวนการ ผลลัพธ์ด้านการเงิน และการตลาด การนำองค์กร ผลลัพธ์ มุมมองเชิงระบบ ๕ การนำองค์กร อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นลูกค้า การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นการปฏิบัติ ความรับผิดชอบ ต่อสังคมในมุมกว้าง กระบวนการ ๖ การเรียนรู้ระดับ องค์กรและบุคคล การจัดการโดย ใช้ข้อมูลจริง ค่านิยมและแนวคิดหลัก การมุ่งเน้นบุคลากร การมุ่งเน้นลูกค้า ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร และการกำกับดูแล การให้ความสำคัญกับ บุคลากรและพันธมิตร การจัดการ เพื่อนวัตกรรม ๑๑ การมุ่งเน้นอนาคต ความคล่องตัว การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร

  39. สรุปหน้าที่ผู้นำองค์กรตามเกณฑ์TQAสรุปหน้าที่ผู้นำองค์กรตามเกณฑ์TQA • กำหนด • ถ่ายทอด • การให้อำนาจ • การจูงใจ • ปฏิบัติตน • สร้างบรรยากาศ • การมุ่งเน้นการปฏิบัติ • พัฒนาชุมชน • การมีส่วนร่วม • มีจรรยาบรรณ • สร้างองค์กรให้ยั่งยืน • บทบาทในการให้รางวัล • และยกย่อง • การสื่อสาร • กระตุ้น

  40. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA

  41. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ข้อ ๑ • คำถามให้คิด ? ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง เมื่อเห็นคนใส่เสื้อคลุม ท้องป่อง ท่านคิดอย่างไร ? Right Understanding

  42. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ข้อ ๒ • คำถามให้คิด ? ความคิด ที่ถูกต้อง จงบวกเลข ๑ ถึง ๒๐๐ ให้เสร็จภายใน ๑๐ วินาที ? Right Thinking

  43. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๓ การทุ่มเท ที่ถูกต้อง • ความสำคัญก่อนหลัง • Out put มากกว่า In put • ความรุนแรงของผลกระทบ Right Commitment

  44. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๔ Why การทำ ที่ถูกต้อง 5W What When Where Who 2H How to Right Actions How Much

  45. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA การควบคุมที่ถูกต้อง (Right Monitoring) ข้อ ๕ INPUTS Man Machine Material Method Money Minute 6 M OUTPUTS หรือ ผลผลิต ที่มีคุณภาพ PROCESS or MEANS หรือ การสร้างคุณค่า การสนับสนุน ระบบธุรกิจ กลุ่มเหตุ กลุ่มผล ความพอใจ ความประทับใจ P Q D E M C F S E ความภักดีของลูกค้า

  46. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๖ ใช้หลักการจับถูก หาข้อดี ข้อเด่น ให้กำลังใจ การประเมิน ที่ถูกต้อง หลีกเลี่ยงการจับผิด หาข้อด้อย ข้อผิดพลาด หรือต่อว่า Right Assessment

  47. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึดหลัก...... ข้อ ๗ ความสอดคล้อง ไปทางเดียวกัน การปรับ ที่ถูกต้อง บูรณาการ ประสานกลมกลืน ทั้งกระบวนการ สารสนเทศ การตัดสินใจด้านทรัพยากร Right Alignment

  48. ถูกต้องการประยุกต์ใช้เกณฑ์TQA ยึด...... ข้อ ๘ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ การพัฒนา ที่ถูกต้อง องค์กรคือหนึ่งร่างกายเดียวกัน พัฒนาเป็นทีม Right Development ยึดวัฒนธรรมและค่านิยม

  49. ผู้นำระดับสูง คนสำคัญที่จะทำให้สำเร็จ ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการกำหนดวิสัยทัศน์ และค่านิยมขององค์กร ? เป็นคำถามที่ ๑ ของหมวด ๑ หัวข้อที่ ๑ คำถามที่ ๑.๑ ก.(๑)

  50. ผู้นำระดับสูง คนสำคัญที่จะทำให้สำเร็จ • เก่งคิด ผู้นำระดับสูง จึงต้อง • เก่งทำ วิสัยทัศน์ • เก่งพูด • เก่งคน • เก่งเวลา ทัศนวิสัย จะมองเห็นก็ด้วยตา วิสัยทัศน์ ต้องใช้ปัญญาจึงมองเห็น

More Related