1 / 23

บทที่ 8 การรับรู้และการเรียนรู้ ( Perception and learning )

บทที่ 8 การรับรู้และการเรียนรู้ ( Perception and learning ). หัวข้อเนื้อหา. 1. ความหมาย ของการรับรู้ 2. ความสำคัญ ของการรับรู้ 3. ปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ 4. พลวัต การรับรู้ 5. การ รับรู้กับกลยุทธ์การตลาด 6. ความหมาย ของการ เรียนรู้.

Download Presentation

บทที่ 8 การรับรู้และการเรียนรู้ ( Perception and learning )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8 การรับรู้และการเรียนรู้ (Perception and learning) หัวข้อเนื้อหา • 1. ความหมายของการรับรู้ • 2. ความสำคัญของการรับรู้ • 3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ • 4. พลวัตการรับรู้ • 5. การรับรู้กับกลยุทธ์การตลาด • 6. ความหมายของการเรียนรู้

  2. บทที่ 8 การรับรู้และการเรียนรู้ (Perception and learning) (ต่อ) หัวข้อเนื้อหา (ต่อ) • 7. ความสำคัญของการเรียนรู้ • 8. องค์ประกอบของการเรียนรู้ • 9. ทฤษฎีการเรียนรู้ • 10. การจำและการลืม • 11. การเรียนรู้และแนวคิดความเกี่ยวพัน • 12. การเรียนรู้กับกลยุทธ์การตลาด

  3. ความหมายของการรับรู้ • Weiten(2008, p. G-5) อธิบายไว้ว่า การรับรู้หมายถึงการเลือก การจัดระเบียบ และการแปลความหมายของสิ่งที่มาสัมผัส • ในทรรศนะของ Kagan and Segal (1995, p. 98) การรับรู้เป็นกระบวนการที่บุคคลทั้งหลายรับรู้และเข้าใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวด้วยการเลือกสรร จัดระเบียบ และการแปลความหมายของสิ่งที่มากระทบกับประสาทการรับรู้

  4. ความสำคัญของการรับรู้ความสำคัญของการรับรู้ • 1. การรับรู้มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจของผู้บริโภค • 2. การรับรู้ช่วยในการประเมินศักยภาพของสิ่งเร้า • 3. การรับรู้ช่วยสร้างทัศนคติต่อตราสินค้า

  5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ • 1. ลักษณะของสิ่งเร้า (Stimulus characteristics) • 2. ลักษณะของผู้บริโภค • 2.1 ความสามารถของผู้บริโภค • 2.2 ความคาดหวังของผู้บริโภคต่อสิ่งเร้า • 2.3 ประสบการณ์ของผู้บริโภค

  6. พลวัตการรับรู้ (Dynamics of perception) การรับรู้ พลวัตการรับรู้ • สิ่งเร้า - ตัวสินค้า - บรรจุภัณฑ์ - ตราสินค้า - การโฆษณา - อื่น ๆ การเลือก รับรู้ • การจัดระเบียบ • การรับรู้ การแปลความหมาย

  7. พลวัตการรับรู้ (ต่อ) • 1. การเลือกรับรู้(Perceptual selection) • 1.1 การเลือกที่จะเปิดรับ (Selective exposure) • 1.2 การเลือกที่จะตั้งใจรับ (Selective attention) • 1.3 การป้องกันการรับรู้ (Perceptual defense) • 1.4 การปิดกั้นการรับรู้ (Perceptual blocking)

  8. พลวัตการรับรู้ (ต่อ) • 2. การจัดระเบียบการรับรู้ (Perceptual organization) • 2.1 ภาพและพื้น (Figure and ground)

  9. พลวัตการรับรู้ (ต่อ) • 2. การจัดระเบียบการรับรู้ (Perceptual organization) • 2.2 การจัดกลุ่มสิ่งเร้า (Grouping) • 2.2.1 ความใกล้ชิด (Proximity) Bat Cow boy cowboy Bat man batman Cat woman catwoman woman C at Cow Man boy

  10. พลวัตการรับรู้ (ต่อ) • 2.2.2 ความคล้ายคลึง (Similarity)

  11. พลวัตการรับรู้ (ต่อ) • 2.2.3 ความต่อเนื่อง (Continuity)

  12. พลวัตการรับรู้ (ต่อ) • 2.2.4 การปิดหรือการเสริมช่องว่าง (Close)

  13. พลวัตการรับรู้ (ต่อ) • 3. การแปลความหมาย (Perceptual interpretation) • 3.1 รูปลักษณ์ภายนอก (Physical appearances) • 3.2 การยึดถือลักษณะเหมารวมของบุคคล (Stereotypes) • 3.3 ความประทับใจครั้งแรก (First impressions) • 3.4 การรีบด่วนสรุปความ (Jumping to conclusions) • 3.5 ผลกระทบจากการอนุมาน (Halo effect)

  14. การรับรู้กับกลยุทธ์การตลาดการรับรู้กับกลยุทธ์การตลาด • 1. กลยุทธ์การค้าปลีก (Retail strategy) • 2. กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างการรับรู้แก่ผู้บริโภค • 3. การเลือกสื่อเพื่อการรับรู้

  15. การเรียนรู้ • ความหมายของการเรียนรู้ • Weiten(2008, p. G-4) ให้นิยามไว้ว่า การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวรหรือการเปลี่ยนแปลงความรู้อันเนื่องมาจากประสบการณ์ • Blackwell, Miniard, and Engel (2006, p. 739) กล่าวว่า การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้และพฤติกรรมอัน เนื่องมาจากประสบการณ์

  16. ความสำคัญของการเรียนรู้ความสำคัญของการเรียนรู้ • 1. เป็นกระบวนการที่พัฒนาความสามารถของผู้บริโภค • 2. ทำให้ผู้บริโภคเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรม ค่านิยมและความเชื่อของตนเอง • 3. เป็นปัจจัยที่ธุรกิจไม่สามารถควบคุมได้

  17. องค์ประกอบของการเรียนรู้ • (The element consumer learning) 1. การจูงใจ(Motivation) • 2. สิ่งบอกเหตุ(Cue) • 3. การตอบสนอง(Response) • 4. การเสริมแรง (Reinforcement)

  18. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theories) 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral learning theory) • 1.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical conditioning)

  19. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theories) (ต่อ) ระยะก่อนวางเงื่อนไข สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข→การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข ผงเนื้อ (UCS) น้ำลายไหล (UCR) สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข→ไม่มีการตอบสนอง (น้ำลายไม่ไหล) เสียงกระดิ่ง (CS) ระยะการวางเงื่อนไข สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข →ตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง (CS) + ผงเนื้อ (UCS)→น้ำลายไหล (UCR) ภายหลังการวางเงื่อนไข สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข→การตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข เสียงกระดิ่ง (CS) →น้ำลายไหล (CR)

  20. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theories) (ต่อ) 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral learning theory) (ต่อ) • 1.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำหรือการเรียนรู้โดยเครื่องมือ (Instrumental conditioning) • 2. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive learning theory)

  21. การจำและลืม 1. ระบบความจำ (Memory systems) • 2. วิธีวัดความจำ • 3. การลืม (Forgetting)

  22. การเรียนรู้และแนวคิดความเกี่ยวพันการเรียนรู้และแนวคิดความเกี่ยวพัน 1. การซื้อที่มีความเกี่ยวพันสูง (High involvement purchase) • 2. การซื้อที่มีความเกี่ยวพันต่ำ (Low involvement purchase)

  23. การเรียนรู้กับกลยุทธ์การตลาดการเรียนรู้กับกลยุทธ์การตลาด 1. กลยุทธ์การตลาดกับทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ คลาสสิก • 2. กลยุทธ์การตลาดกับทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ การกระทำ • 3. กลยุทธ์การตลาดกับการเรียนรู้แบบสังเกตหรือ เลียนแบบ

More Related