1 / 12

พิ ริยา ภรณ์ สังข ปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา

ผลของการใช้ผลพลอยได้จากการผลิตพลังงานชีวภาพจากข้าวสาลีต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น. พิ ริยา ภรณ์ สังข ปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา. พลังงานชีวภาพ.

Download Presentation

พิ ริยา ภรณ์ สังข ปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลของการใช้ผลพลอยได้จากการผลิตพลังงานชีวภาพจากข้าวสาลีต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่นผลของการใช้ผลพลอยได้จากการผลิตพลังงานชีวภาพจากข้าวสาลีต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น พิริยาภรณ์สังขปรีชา อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา

  2. พลังงานชีวภาพ • Biofuelคือ เชื้อเพลิงที่ได้จากชีวมวล (Bimass) หรือ สสารที่ได้จากพืชและสัตว์โดยมีพื้นฐานจากการสังเคราะห์แสง แล้วเก็บรวบรวมพลังงานจากดวงอาทิตย์เอาไว้ในรูปของพลังงานเคมี 

  3. แหล่งวัตถุดิบการผลิตเอทานอลแหล่งวัตถุดิบการผลิตเอทานอล • วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลได้จากพืช 2 ประเภท คือ • พืชที่ให้น้ำตาล ได้แก่ อ้อย และข้าวฟ่างหวาน • พืชที่ให้แป้ง เช่น พืชหัว (tuber crop) ได้แก่ มันสำปะหลัง มันเทศ มันฝรั่ง และเมล็ดธัญพืช (cereal grain) เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด

  4. กระบวนการผลิตเอทานอลจากข้าวสาลีกระบวนการผลิตเอทานอลจากข้าวสาลี ที่มา : Feed Opportunities from the Biofuels Industries (FOBI) , (2011)

  5. การเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสเป็นเอทานอลโดยการหมักของยีสต์การเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสเป็นเอทานอลโดยการหมักของยีสต์ C6H12O6 + ยีสต์------> 2C2H5OH + 2CO2 + 28.7 Kcal (กลูโคส) (เอทานอล) (คาร์บอนไดออกไซด์) 180 กรัม 2x46 กรัม 2x44 กรัม คิดเป็นร้อยละ 100 กรัม 51.11 กรัม 48.89 กรัม

  6. DDGS • Dried distillers’ grains with solubles • เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการผลิต Bio-Ethanol มีคุณค่าทางโภชนะเพียงพอที่จะเป็นอาหารสัตว์ได้ • ผลพลอยได้ที่ออกมามีสัดส่วนของ โปรตีน ไขมัน และเยื่อใย เพิ่มมากขึ้น

  7. ตารางแสดงองค์ประกอบทางเคมีของ DDGS ที่ได้จากวัตถุดิบตั้งต้นการผลิตที่แตกต่างกัน ที่มา : 1 = May et al. (2010), 2 = Mohawk (2002) , 3 = Depenbusch et al. (2009)

  8. ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น ที่ได้รับ Wheat DDGSระดับที่แตกต่างกัน ที่มา : Avelar et.al (2010)

  9. กราฟ ผลของการใช้ Wheat DDGS ต่อสมรรถนะทางการเจริญเติบโตของสุกรรุ่น ที่มา : P. Cozannet, Y. Primot, C. Gady, J. P. Métayer, M. Lessire, F. Skiba and J. Noblet (2010)

  10. สรุปและข้อเสนอแนะ • อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน ADG  พบว่าใช้ Wheat DDGS ที่ระดับ 0% 10% สุกรรุ่นมีเจริญเติบโตดีกว่า Wheat DDGS ที่ระดับ 15% และ 20% อัตราการกินต่อวัน ADFI  พบว่าไม่มีผลกระทบต่อปริมาณการกินของสุกรรุ่นประสิทธิภาพการใช้อาหาร พบว่า Wheat DDGS ที่ระดับ 0% 5% 10% ดีกว่า Wheat DDGS ระดับ 20% • ผลพลอยได้จาก DDGS มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นตามการผลิตเอทานอล วัตถุดิบตั้งต้นเดิมที่ใช้เป็นอาหารสัตว์จะมีราคาแพงและนั่นทำให้แนวโน้มการใช้ DDGS ในอนาคตเพิ่มขึ้น ความเป็นไปได้ในการใช้ DDGS เป็นอาหารสุกรเป็นไปในทางที่ดี ทั้งเรื่องของสมรรถนะการผลิตและคุณภาพเนื้อ DMI, ADG

  11. กิตติกรรมประกาศ • ผศ.พิชญ์รัตน์ แสนไชยสุริยา อาจารย์ที่ปรึกษา • รศ.ดร.ฉลอง วชิราภากร อาจารย์ประจำวิชา • อ.ดร.อนุสรณ์ เชิดทอง อาจารย์ประจำวิชา • พี่ และเพื่อน ทุกท่าน

  12. จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ

More Related