1 / 69

บทสรุป การวัด ประเมินผล การเรียนรู้

โดย อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์. บทสรุป การวัด ประเมินผล การเรียนรู้. O L E. กระบวนการการศึกษา (Educational Process). O (Objectives). L (Learning). E (Evaluation). ประเมินจัดตำแหน่ง (Placement). ประเมินย่อย (Formative). ประเมินวินิจฉัย (Diagnosis).

Download Presentation

บทสรุป การวัด ประเมินผล การเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โดย อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ บทสรุปการวัดประเมินผลการเรียนรู้

  2. O L E กระบวนการการศึกษา (Educational Process) O (Objectives) L (Learning) E (Evaluation)

  3. ประเมินจัดตำแหน่ง (Placement) ประเมินย่อย (Formative) ประเมินวินิจฉัย (Diagnosis) ประเมินรวม (Summative) ประเพณีนิยม (Traditional) ทางเลือก (Alternative) การสังเกต (Observational) การสัมภาษณ์ (Interview) แบบ/ชนิด/ประเภท (Types) แนวคิด (Approach) เทคนิค/วิธีการ (Techniques) C จุดประสงค์การเรียนรู้ ความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะ (ที่วัดและประเมิน) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์ให้คะแนน (Rubric Score) A ระเบียบ ม.ขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษา ระดับ ป.ตรี (2542) และ ระดับบัณฑิตศึกษา (2544) มาตรประมาณค่า (Rating Scale) P พ.ร.บ. การศึกษา (2542) เครื่องมือ (instruments/tools) รูปแบบ/กรอบอ้างอิง (References) แบบตรวจสอบรายการ (checklists) คุณลักษณะเครื่องมือวัดที่ดี อิงเกณฑ์ (CR) อิงกลุ่ม (NR) อิงตน/อิงพัฒนาการ (Improvement-Reference) แบบสอบถาม (Questionnair) แบบสำรวจ (Inventory) แบบทดสอบ (Test)

  4. ศัพท์เฉพาะ (Technical Terms) การเรียนรู้ (Learning) การวัด/การวัดผล + การประเมินผล (Measurement) (Evaluation) คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง • การทดสอบ (Testing) • การตรวจสอบ / การประเมิน (Assessment)เช่น การประเมินตามสภาพจริง(Authentic Assessment)

  5. ความสัมพันธ์ระหว่างการทดสอบ (T)การวัด (M) การประเมินผล (E) และการประเมิน (A) Evaluation Assessment Measurement Testing

  6. แบบของการประเมินผล ( E ) แบบที่ 1 E = Measurement + Value Judgement แบบที่ 2 E = Non-Measurement + Value Judgement แบบที่ 1+2 E=(Measurement + Non-Measurement)+ Value Judgement หรือ E=Assessment + Value Judgement

  7. นิยามศัพท์

  8. ตัวอย่าง ------------------------------------------------------------------------------------------------ (Assessment) • สมชายสอบเรียงความได้ คะแนน 9 จากคะแนนเต็ม 10 • เรียงความของสมชาย ค่อนข้างสมบูรณ์มาก ทั้ง คำนำและเนื้อเรื่อง มีเพียงบทสรุปตอนท้าย ที่น่าจะจบแบบประทับใจ ด้วยคำคม หรือ บทกลอน Measurement Non-Measurement

  9. การประเมินผล (Evaluation) ระดับคะแนนแบบตัวอักษร A B+ B C+ C D+ D F แต้มระดับคะแนน 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0 ความหมาย ดีเยี่ยม (Excellent) ดีมาก (Very Good) ดี (Good) เกือบดี (Fairly Good) พอใช้ (Fair) อ่อน (Poor) อ่อนมาก (Very Poor) ตก (Fail) ตัวอย่างระบบเกรดแบบ 8 ระดับ

  10. แนวคิดการประเมินการเรียนรู้แนวคิดการประเมินการเรียนรู้ Assessment Traditional Assessment (Standardized Tests / Multiple - choice Tests) Alternative Assessment or Authentic Assessment or Performance Assessment

  11. การวัดและประเมิน ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 (ม.26) ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจาก : • พัฒนาการของผู้เรียน • ความประพฤติ • การสังเกตพฤติกรรมการเรียน • การร่วมกิจกรรมและ การทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา

  12. กระบวนการเรียนรู้ตามแนว พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 จุดประสงค์การเรียนรู้ (หลักสูตร / รายวิชา) การจัดการเรียนการสอน (เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ / Learner - Centered) การวัดประเมินผู้เรียน (การประเมินจากสภาพจริง/ Authentic Assessment)

  13. การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ความหมายกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียน คิด ค้น สร้าง และสรุปข้อความรู้ด้วยตนเอง และนำข้อความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ได้

  14. แนวคิดการประเมินการเรียนรู้แนวคิดการประเมินการเรียนรู้

  15. พฤติกรรมภายหลัง การเรียน พฤติกรรมก่อนเรียน เวลาที่ใช้ในการเรียนรู้/ศึกษาต่างกัน รูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ผู้เรียน ยังไม่เกิด การเรียนรู้ ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ แล้ว ประเมินย่อยระหว่างเรียน และ/หรือ ประเมินวินิจฉัย ประเมินจัดตำแหน่ง และ/หรือ ประเมินวินิจฉัย ประเมินรวม ปลายภาค แบบจำลองการประเมินการเรียนรู้ ดัดแปลงจาก Green, J.A. (อ้างถึงใน ส.วาสนา ประวาลพฤกษ์,2522)

  16. ประเภทของการประเมินผล(จำแนกตามช่วงเวลา)ประเภทของการประเมินผล(จำแนกตามช่วงเวลา)

  17. การประเมิน 4 แบบ

  18. ระดับจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (Educational Objectives) ระดับชาติพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ “ความมุ่งหมาย” ระดับหลักสูตรหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน “จุดมุ่งหมาย” มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาขั้นพื้นฐาน (Standard) มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น (Benchmark) หลักสูตรสถานศึกษา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning outcomes) ระดับการเรียนการสอนรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objectives)

  19. จุดประสงค์การเรียนรู้(Learning Objectives) • เป็นข้อความที่ระบุ ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรม การแสดงออก และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ รวมทั้งการปฏิบัติ และ ทักษะต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน อันเป็นผลจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ ภายหลังการเรียนการสอนเสร็จสิ้นแล้ว

  20. ความรู้ ความสามารถ ปัญญา K (Knowledge) เก่ง C (Cognitive Domain) กาย การปฏิบัติ (Performance) ทักษะ (Skills) P (Process, Product) ดี S (Skills) P (Psychomotor) พฤติกรรม การแสดงออก (ที่สะท้อนถึง ความคิด อารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม) มีสุข จิต A (Attitude, Value) A (Affective Domain)

  21. ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรม ทักษะ และคุณลักษณะที่ทำการประเมิน

  22. จิตพิสัย A ทักษะพิสัย P พุทธิพิสัย C

  23. พุทธิพิสัย คิดสร้างสรรค์ (Creative) ประเมินค่า (Evaluation) วิเคราะห์ (Analyze) ประยุกต์ใช้ (Apply) ความเข้าใจ (Understand) ความจำ (Remember)

  24. คำที่แสดงการกระทำจำแนกตามระดับต่างๆ ของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย 1.00 ความจำ บอก บ่งชี้ บรรยาย แยกประเภท จัดลำดับ ระบุ ให้ตัวอย่าง ให้นิยาม ให้เครื่องหมาย 2.00 ความเข้าใจ แปล เปลี่ยนรูป ใช้ภาษาของตนเอง ยกตัวอย่าง ตีความ บอก จัดเรียงใหม่ ทำนาย กะประมาณ ขยาย คาดคะเน ลงสรุป 3.00 ประยุกต์ใช้ บอก ใช้ คำนวณ เลือก สร้าง เสนอ แก้ปัญหา ผลิต แสดง ดัดแปลง สาธิต เตรียม

  25. คำที่แสดงการกระทำจำแนกตามระดับต่างๆ ของจุดมุ่งหมายทางการศึกษาด้านพุทธิพิสัย 4.00 วิเคราะห์ บอก บ่ง จำแนก สกัด ค้นหา แยกแยะ บอกความแตกต่าง-คล้ายคลึง ลงสรุป จัดประเภท ประมาณราคา จัดจำพวก ตั้งคำถาม ทดสอบ 5.00 ประเมินค่า ตัดสิน ประเมิน โต้แย้ง ใช้เกณฑ์วิพากษ์วิจารณ์ ชี้ขาด พิจารณา เปรียบเทียบ ให้คะแนน ใช้เกณฑ์เปรียบเทียบ บ่งเหตุผล บ่งความสอดคล้อง 6.00 คิดสร้างสรรค์ บอก เขียน สร้าง แก้ไข รวบรวม ประกอบ ขยาย ริเริ่ม ผลิต วางโครงการ เสนอ ออกแบบ ปรับปรุง พัฒนา อนุมาน พิสูจน์ ค้นหา

  26. จิตพิสัย การสร้างบุคลิกลักษณะ (Characterization) • บุคลิกภาพ • คุณธรรมจริยธรรม • ค่านิยม • เจตคติ • ความคิดเห็น • ความซาบซึ้ง • ความสนใจ • ความตระหนัก การจัดระบบค่านิยม (Organization) การให้คุณค่า หรือ การสร้างค่านิยม (Valuing) การตอบสนอง (Responding) การรับ (Receiving)

  27. ทักษะพิสัย การริเริ่ม (Origination) การดัดแปลง (Adaptation) ทักษะกระบวนการ การแสดงออก การปฏิบัติ (Performance) การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex overt response) กลไก (Mechanism) การตอบสนองตามแนวทางที่ให้ (Guided response) การพร้อม (Set) การรับ(รู้) (Perception)

  28. จุดมุ่งหมายทั่วไป กำหนดพฤติกรรมในลักษณะกว้างๆ โดยใช้คำทั่วไป (General terms) เช่น ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความสนใจ เจตคติ ความซาบซึ้ง ความรับผิดชอบ มีคุณธรรม ฯลฯ จุดมุ่งหมายเฉพาะ กำหนดพฤติกรรมในลักษณะที่เฉพาะเจาะจง โดยใช้คำกริยาที่บ่งการกระทำ (action verbs) เช่น ระบุ บ่งชี้ บอก เล่า เขียน อธิบาย แสดง และ ระบุเนื้อหาวิชาหรือเรื่องที่กระทำ

  29. จุดมุ่งหมายเฉพาะใช้ในการกำหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะใช้ในการกำหนด จุดมุ่งหมายการสอน (Instructional Objectives) หรือ จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objectives) โดยทั่วไปจะเขียนในรูป : จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives : B.O. ส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วนของ B.O. • การแสดงออก หรือ พฤติกรรมที่คาดหวัง (Performance) • เงื่อนไข หรือ สถานการณ์ (Conditions) • เกณฑ์การยอมรับ (Criterion)

  30. การแสดงออก หรือ พฤติกรรมที่คาดหวัง (Performance) คำที่บ่งการกระทำ +เรื่องที่กระทำ เช่น บอกความหมายของคำศัพท์ หาผลบวกของเลข 2 หลัก เขียนวงกลม สร้างเก้าอี้

  31. เงื่อนไข หรือ สถานการณ์ (Conditions) ระบุสภาวะที่ผู้เรียนจะมีการแสดงออก อาจกำหนดในรูปของ วัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูล หรือเงื่อนไขการทำงาน เช่น • เมื่อกำหนดคำศัพท์ให้ 10 คำ • เมื่อกำหนดโจทย์การบวกเลขสองหลักที่ไม่มีการทดให้ 10 ข้อ • (เขียนวงกลม) โดยไม่ใช้วงเวียน • เมื่อกำหนด เลื่อย ค้อน ตะปู และ ไม้ให้

  32. เกณฑ์การยอมรับ (Criterion) ข้อความที่กำหนดระดับ หรือ ปริมาณ ของพฤติกรรม/การแสดงออก ที่ยอมรับว่า ผู้เรียนมีความรอบรู้หรือผ่านจุดประสงค์นั้นแล้ว อาจกำหนดในรูป งานที่สำเร็จ ระยะเวลา จำนวนผลงาน หรือ สัดส่วนของผลงานที่ทำ ได้ถูกต้องหรือทำเสร็จ เช่น ถูกต้อง 8 ใน 10 คำ ได้ถูกต้องอย่างน้อย 80 % เสร็จในเวลา 5 นาที เป็นเก้าอี้ที่ใช้นั่งได้

  33. ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อกำหนดคำศัพท์ให้ 10 คำ (นักศึกษาสามารถ) บอกความหมายของคำศัพท์ ถูกต้อง 8 ใน 10 คำ เมื่อกำหนดโจทย์การบวกเลขสองหลักที่ไม่มีการทดให้ 10 ข้อ (นักเรียนสามารถ) หาผลบวกของเลข 2 หลัก ได้ถูกต้องอย่างน้อย 80 % เสร็จในเวลา 5 นาที เขียนวงกลม โดยไม่ใช้วงเวียน เมื่อกำหนด เลื่อย ค้อน ตะปู และ ไม้ให้ (นักศึกษาสามารถ) สร้างเก้าอี้ เป็นเก้าอี้ที่ใช้นั่งได้

  34. การกำหนดจุดประสงค์ของรายวิชาการกำหนดจุดประสงค์ของรายวิชา (Stating a course objectives)

  35. คุณลักษณะของจุดประสงค์ของรายวิชา (1/4) • กำหนดในรูปของพฤติกรรมของนักศึกษา • ตัวอย่าง เพื่อสังเกตแบคทีเรียผ่านกล้องจุลทรรศน์ • (แก้ไข) เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกลักษณะทาง กายภาพของสิ่งที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรค • เริ่มต้นด้วยคำกริยาที่บ่งการกระทำ • ตัวอย่าง โรคตาฟาง โรคลักปิดลักเปิด และ โรคปากนกกระจอก ล้วนมีสาเหตุมาจาก การที่ร่างกายขาดวิตามิน • (แก้ไข) ระบุเงื่อนไขของการเกิดโรคต่างๆ ซึ่งมีสาเหตุ มาจากการขาดวิตามิน

  36. คุณลักษณะของจุดประสงค์ของรายวิชา (2/4) • กำหนดในรูปของพฤติกรรมของนักศึกษาที่สามารถสังเกตได้ (observable) • ตัวอย่าง1 นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างบรรยากาศที่ดีในระหว่างรับประทานอาหารที่บ้านของนักศึกษา (ไม่ดี) • ตัวอย่าง2 รู้สึกภาคภูมิใจที่จะได้จบออกไปประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาเกษตรกรรมของประเทศ (ไม่ดี) • กำหนดในลักษณะที่แน่ชัด ใช้คำที่มีความหมายเพียงอย่างเดียว • ตัวอย่าง เข้าใจความรับผิดชอบของชุมชนในการควบคุม โรคระบาดสัตว์ • (แก้ไข) * บอกชื่อหน่วยงานต่างๆ ในชุมชนที่มีความ รับผิดชอบในการควบคุมโรคระบาดสัตว์* เมื่อกำหนดสภาพปัญหาเกี่ยวกับโรคระบาดในสัตว์ นักศึกษาสามารถระบุหน่วยงานในชุมชนที่มีหน้าที่ รับผิดชอบและสามารถระบุการให้บริการหรือวิธีปฏิบัติที่ คาดว่าจะได้รับจากหน่วยงานดังกล่าว

  37. คุณลักษณะของจุดประสงค์ของรายวิชา (3/4) • กำหนดในลักษณะที่เป็นพฤติกรรมเดียว หรือ เกี่ยวกับกระบวนการเพียงอย่างเดียว • ตัวอย่าง บอกหลักการเบื้องต้นของการทำไร่นาสวนผสม และยอมรับในการนำวิธีการดังกล่าวมาแก้ปัญหาความ ยากจนของเกษตรกร (ไม่ดี) • กำหนดในระดับที่พอเหมาะ ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป • ตัวอย่าง1 อธิบายเกี่ยวกับเรื่องโภชนาการ (กว้างเกินไป) • ตัวอย่าง2 รายการจุดประสงค์ เช่น * ระบุหน้าที่ของโปรตีนต่อร่างกาย* ระบุหน้าที่ของไขมันต่อร่างกาย* ระบุหน้าที่ของคาร์โบไฮเดรตต่อร่างกาย* ระบุหน้าที่ของวิตามินต่อร่างกาย (แคบ/เฉพาะเจาะจงมากไป) • (แก้ไข) ระบุหน้าที่ของสารอาหาร 5 หมู่ต่อร่างกายได้

  38. คุณลักษณะของจุดประสงค์ของรายวิชา (4/4) • ควรจะเป็นตัวแทนผลที่เกิดจากการศึกษาในรายวิชานั้นโดยตรงตัวอย่าง ให้นักศึกษามีความสูงเพิ่มขึ้น (ไม่ดี) • จุดประสงค์ควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริง และ มีความเป็นไปได้ ในเรื่องของเวลาที่ใช้สำหรับการจัดการเรียนการสอน และระดับความรู้ความสามารถของนักศึกษาตัวอย่าง นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในการ ปรับเปลี่ยนระบบการวัดและประเมินผล ในโรงเรียนได้ (ไม่ดี)

  39. คุณลักษณะของจุดประสงค์ที่ดีคุณลักษณะของจุดประสงค์ที่ดี S M A R T • S – Specific (ชัดเจน เจาะจง) • M – Measurable (วัดได้) • A – Acceptable (เป็นที่ยอมรับ) • R – Realistic (เป็นไปได้) • T – Time (เหมาะกับช่วงเวลา)

  40. ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (1/3) • บอกลักษณะพื้นที่ของจังหวัดขอนแก่นได้ • จำแนกรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่างๆ ได้ • บอกความแตกต่างของอาหารประเภทต่างๆ ได้ • เขียนรายงานจากการค้นคว้าในหนังสือหรือบทความได้ • เสนอวิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัวได้

  41. ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (2/3) • เมื่อกำหนดโจทย์ปัญหาการคูณหารระคนให้ นักเรียนสามารถหาคำตอบได้ • เปรียบเทียบและชี้แจงผลงานของตนเองกับของคนอื่นได้ • เขียนคำขวัญเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์หรือการปลูกผักสวนครัวได้ • นำเส้นรูปทรงต่างๆ มาจัดให้เป็นภาพได้ • ทำงานด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน

  42. ตัวอย่างจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (3/3) • ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ • ปฏิบัติตามหลักธรรมและศาสนาพิธีของศาสนาที่ตนนับถือได้ • ร้องเพลงหรืออ่านคำกลอนที่ครูกำหนดให้ • ประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุได้และทำงานได้ตามขั้นตอน • แสดงท่าบริหารร่างกายได้ตามจังหวะเพลง

  43. เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

  44. เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

  45. เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เครื่องมือและเทคนิควิธีการที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

  46. เกณฑ์การให้คะแนนแบบ Rubrics • Holistic- เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม แบ่งระดับคุณภาพของงาน (ผลงาน/ การปฏิบัติ/ข้อเขียน -คำตอบของ คำถาม) ออกเป็น 3-7 ระดับ พร้อมเขียน คำอธิบายระดับคุณภาพดังกล่าว • Analytic - เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ แยกพิจารณาคุณภาพของงานในหลาย องค์ประกอบ แล้วหาผลรวมของระดับ คุณภาพทุกองค์ประกอบ

  47. เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) ผลงาน/ทักษะ/ความสามารถ ................................................................. เรื่อง ........................................................................... รายวิชา .................................. ชั้น ปีที่ ............... ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... รายการ/ประเด็นประเมิน ระดับคุณภาพ/ความสามารถ น้ำหนักความสำคัญ คะแนนเต็ม ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) คะแนนรวม คะแนนรวมที่เป็นไปได้ คะแนนต่ำสุด ........ คะแนนสูงสุด .......... เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน ดีเลิศ (A) ดีมาก(B+) ดี (B) เกือบดี(C+) พอใช้ (C) อ่อน(D+) อ่อนมาก (D) ไม่ผ่าน(F) ช่วงคะแนน .............. ................ .............. ................. ................. ………… ……………. ต่ำกว่า…….

  48. ขนมผิง การประกอบอาหาร 1 4 1.ลักษณะเนื้อขนม 2.สี 3 12 3. รสชาด 2 8 • 4 • 7 28 4.กลิ่น เกณฑ์การให้คะแนน (scoring Rubrics) ผลงาน/ทักษะ/ความสามารถ ................................................................. เรื่อง ........................................................................... รายวิชา .................................. ชั้น ปีที่ ............... ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... รายการ/ประเด็นประเมิน ระดับคุณภาพ/ความสามารถ น้ำหนักความสำคัญ คะแนนเต็ม ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) คะแนนรวม 7 28 คะแนนรวมที่เป็นไปได้ คะแนนต่ำสุด ........ คะแนนสูงสุด .......... เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) ช่วงคะแนน ............... ................ .................. .................... ................... 25-28 21-24 15-20 11-14 7-10 7 8 9 10 / 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 / 25 26 27 28

  49. มาตราเชิงวิเคราะห์ ( Rubrics) สำหรับประเมิน “ขนมผิง” (จริยา เสถบุตร , 2547)

More Related