1 / 54

ประเด็นของ SP5 ใน PMQA หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

ประเด็นของ SP5 ใน PMQA หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์. “ การถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับสำนัก / กองและบุคคล ”. ประเด็นการบรรยาย. หลักการจัดการเชิงกลยุทธ์เบื้องต้น วิธีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ วิธีการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากสำนักปลัดกระทรวงมหาดไทยสู่จังหวัด

varen
Download Presentation

ประเด็นของ SP5 ใน PMQA หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นของ SP5 ใน PMQA หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ “การถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับสำนัก / กองและบุคคล”

  2. ประเด็นการบรรยาย • หลักการจัดการเชิงกลยุทธ์เบื้องต้น • วิธีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ • วิธีการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากสำนักปลัดกระทรวงมหาดไทยสู่จังหวัด • วิธีการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากสำนักงานจังหวัดสู่ระดับหน่วยต่างๆ • วิธีการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากระดับหน่วยสู่ระดับบุคคล

  3. บทนำ • แนวคิดการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล เริ่มขึ้นเมื่อองค์กรได้จัดทำยุทธศาสตร์และมีการนำยุทธศาสตร์นั้นไปปฏิบัติ • ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators: KPIs) เป็นเครื่องมือที่สำคัญประการหนึ่ง ในการวัดผลสำเร็จของแผน ทั้งนี้ จะต้องกำหนดตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์ • อย่างไรก็ดีปัญหาที่มีในปัจจุบัน ก็คือ หน่วยงานราชการได้มีการนำเอาระบบตัวชี้วัดเข้ามาใช้อย่างแพร่หลาย แต่ตัวชี้วัดเหล่านั้นขาดความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ มักเป็นตัวชี้วัดงานประจำเสียมากกว่า หน่วยงานราชการบางแห่งมีตัวชี้วัดจำนวนมาก แต่ตัวชี้วัดเหล่านั้นกลับไม่ได้บอกให้รู้ว่าการดำเนินงานของหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์ทางยุทธศาสตร์ที่กำหนดขึ้นหรือไม่ ทำให้ระบบการวัดและประเมินผลโดยอาศัยตัวชี้วัดกลายเป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่ง แต่ขาดประโยชน์ในการผลักดันและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

  4. บทนำ (ต่อ) • ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานไม่ได้มีการสื่อสารและถ่ายทอดลงไปสู่ระดับผู้บริหารระดับล่างและบุคลากรทั่วทั้งองค์กร ประกอบกับระบบในการวัดผลและประเมินผลการดำเนินงานของบุคลากรยังเป็นระบบเดิมที่ขาดความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ และไม่ได้มุ่งเน้นไปที่ผลผลิตและผลลัพธ์ ทำให้บุคลากรขาดแรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ • การจัดทำตัวชี้วัดระดับบุคคลจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดทำหลังจากการกำหนดตัวชี้วัดในระดับองค์กรแล้ว เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดจะถ่ายทอดไปยังระดับล่าง รวมทั้งเพื่อให้ทุกคนในหน่วยงานเกิดความรู้สึกมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ รวมทั้งมีระบบในการจูงใจให้ทุกคนมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ ดังนั้น จึงต้องแปลงเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงไปสู่ระดับหน่วยงานย่อยต่าง ๆ รวมทั้ง ลงไปถึงบุคลากรทุกคนในองค์กร

  5. What is Strategy? “A broad formula or a plan for how an organization is going to compete” “กลยุทธ์คือแผนการที่จะทำให้เราชนะคู่แข่งเพี่อความเป็นเลิศ”

  6. ความสับสนในเรื่องนิยามศัพท์ความสับสนในเรื่องนิยามศัพท์ • Objective • Goal • Mission • Vision • Target • Core Value • Culture • BSC, KPI • Strategy • Outcome • Output • เป้าประสงค์ • วัตถุประสงค์ • ค่านิยม • วัฒนธรรม • เป้าหมาย • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ • ภารกิจ • กลยุทธ์ • ยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • ผลผลิต • ผลลัพธ์

  7. Strategic Planning วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย (ปัจจุบัน) ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน +O -T +S -W วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย (อนาคต) ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์ (Map) ตัววัด เป้าหมาย และวิธีการ (Card) แผนงาน โครงการ

  8. การจัดการเชิงกลยุทธ์ • ปัจจัยภายนอก • เศรษฐกิจ • สังคม • การเมือง • ธรรมชาติ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Strategic BSC HRM HRD ปัจจัยภายใน ธรรมาภิบาล Vision Values Goal การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น พนักงาน การนำ ผลลัพธ์ มอก. HNQA Map KPI การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้นลูกค้า และตลาด CRM Customer Survey HA/HPH ISO QC/TPM Tools & STD Six sigma วัด วิเคราะห์ สารสนเทศ และจัดการความรู้ MIS DSS KM

  9. กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ค่าเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ ยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ โครงการ เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด

  10. รูปแบบการจัดทำยุทธศาสตร์รูปแบบการจัดทำยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์สำนัก...................................................................................... วิสัยทัศน์........................................................................................................................................................ พันธกิจ............................................................................................................................................................

  11. วิธีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์วิธีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์

  12. แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) หมายถึงแผนภาพที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าประสงค์ในแต่ละมิติที่มีความเชื่อมโยงกันในลักษณะของเหตุและผล (Cause and Effect Relationship) แผนที่ยุทธศาสตร์ตามแนวคิดจะประกอบด้วย วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ ซึ่งมีความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้

  13. รูปแบบการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์รูปแบบการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์................................................................................................................................................................ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประสิทธิ ผล เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ คุณภาพการให้บริการ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ ประสิทธิ ภาพ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ พัฒนา องค์กร เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์

  14. เป้าประสงค์ การเขียนจะต้องให้อยู่ในรูปของคำกริยา เช่น เพื่อส่งเสริมแหล่งจำหน่ายสินค้า OTOP และเพิ่มรายได้ต่อหัวของประชาชน เป็นต้น

  15. ประเด็นคำถามเพื่อช่วยในการกำหนดเป้าประสงค์ในแต่ละมิติตาม กพร.

  16. Map & Card : BSC Concept Balanced Scorecard Action Plan Strategy Map เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ งบประมาณ Financial Perspective Customer Perspective Internal Perspective Learning & Growth Perspective

  17. Map & Card : BSC Concept เป้าประสงค์ • Fast ground turnaround แผนที่ยุทธศาสตร์ Strategy Card Measures: How success or failure (performance) against objectives is monitored Targets: The level of performance or rate of improvement needed Initiatives: Key action programs required to achieve targets Objectives: What the strategy is trying to achieve Strategic Theme: Operating Efficiency Profits and RONA Financial Grow Revenues Fewer planes Attract & Retain More Customers Customer On-time Service Lowest prices ตัวชี้วัด(KPIs) เป้าหมาย กลยุทธ์ Internal Fast ground turnaround • On Ground Time • On-Time Departure • 30 Minutes • 90% • Cycle time optimization Learning Ground crew alignment

  18. ตัวอย่างแผนที่ยุทธศาสตร์ตัวอย่างแผนที่ยุทธศาสตร์ บางส่วนของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน

  19. ส่งเสริมสถาบัน เกษตรกร สนับสนุนเกษตรกร ให้พึ่งตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี อาชีพมั่นคง ส่งเสริมการ ผลิตสินค้าเกษตร และอาหารให้ได้ มาตรฐานสากล วิจัยพัฒนาและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการเกษตร พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อการผลิต ทางการเกษตร การเพิ่ม ประสิทธิภาพ ระบบการ บริหารจัดการ การต่างประเทศ และเศรษฐกิจ การเกษตร ระหว่างประเทศ การขจัดความ ยากจนของ เกษตรกร การปรับ โครงสร้าง ภาคการเกษตร การบริหาร จัดการทรัพยากร การเกษตร วิสัยทัศน์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นกระทรวงหลักด้านการผลิตสินค้าเกษตร และอาหารของโลกผู้บริโภคปลอดภัยเกษตรกรไทยมั่งคั่ง พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์

  20. 1 2 3 การขจัดความ ยากจนของ เกษตรกร การปรับ โครงสร้าง ภาคการเกษตร แผนยุทธศาสตร์ของกรมปศุสัตว์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรนำไทยสู่ผู้นำปศุสัตว์โลก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มผลิตภาพการผลิตโดยการวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านปศุสัตว์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาให้กรมฯเป็นศูนย์กลางภูมิปัญญาด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายด้านปศุสัตว์ให้เข้มแข็ง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการให้เข้มแข็งและการเพิ่มพูนสมรรถนะบุคลากร

  21. การถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับกรมฯ(สำนักปลัดกระทรวงมหาดไทย) สู่ระดับสำนักงานจังหวัดและระดับกอง

  22. ตัวอย่างการถ่ายทอด KPI อย่างง่าย • มหาวิทยาลัยจะต้องผลิตงานวิจัยเผยแพร่สังคมอย่างน้อย 10 งานวิจัยต่อปี (ระดับองค์กร) • คณะบริหารรับผิดชอบ 5 งาน (ระดับสำนัก) • อาจารย์แต่ละคนต้องทำอย่างน้อย 1 งานต่อปี (ระดับบุคคล)

  23. 1. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับคณะ/โปรแกรมและระดับบุคคล วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) แผนงาน/ โครงการ ค่า เป้าหมาย วัตถุประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล

  24. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคลภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล ระดับองค์กร เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร ขั้นตอนที่ 2 : การแปลงระบบประเมินผลจากระดับองค์การลงสู่ระดับสำนัก/กอง ระดับสำนัก/กอง บทบาท หน้าที่และภารกิจของสำนัก/กองที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร บทบาท หน้าที่และภารกิจในงานประจำของสำนัก/กอง 2.1 ยืนยันบทบาทหน้าที่ของสำนัก/กอง เป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กอง 2.2 กำหนดเป้าประสงค์ที่สำนัก/กองมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ขององค์กร 2.3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่งานที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 2.4 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดในระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 3 : การแปลงระบบประเมินผลจากระดับสำนัก/กองลงสู่ระดับบุคคล บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ 3.1 ยืนยันหน้าที่งานของบุคคล 3.2 กำหนดเป้าประสงค์ที่บุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชา เป้าประสงค์ในระดับบุคคล 3.3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่งานที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.4 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดในระดับบุคคล แนวทางในการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล กระบวนการในการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 1: การยืนยันระบบประเมินผลขององค์กร ระดับองค์กร ระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล

  25. ขั้นตอนการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับกรมฯ สู่ระดับสำนัก/กอง • การทบทวนบทบาท หน้าที่ และภารกิจของสำนัก/กอง • การพิจารณา เป้าประสงค์ภายใต้แผนที่ยุทธศาสตร์ระดับกรมฯ • การจัดทำเป้าประสงค์และแผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับสำนัก/กอง • การกำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ • การให้น้ำหนักตัวชี้วัด กำหนดเป้าหมาย และเกณฑ์การประเมินผล

  26. 1. การทบทวนบทบาท หน้าที่และภารกิจของสำนัก/กอง • ประเด็นพิจารณา • ทบทวนบทบาท หน้าที่ และภารกิจ ของสำนัก/กองที่ระบุไว้ในปัจจุบัน • พิจารณาบทบาท หน้าที่ ของสำนัก/กองที่มีความสำคัญและดำเนินงานอยู่ในปัจจุบันแต่ไม่ได้ถูกระบุไว้ใน บทบาทหน้าที่ • ใบงาน • คัดเลือกบทบาท หน้าที่ และภารกิจของสำนัก/กองที่ดำเนินอยู่จริงในปัจจุบัน • เพิ่มเติมบทบาท หน้าที่ ของสำนัก/กองที่มีความสำคัญแต่ไม่ได้ถูกระบุไว้ • เรียงลำดับความสำคัญของ บทบาท หน้าที่ และภารกิจของสำนัก/กอง

  27. ใบงาน 1: พันธกิจของสำนักวิศวกรรมโครงสร้างและงานระบบ • อำนาจหน้าที่ • กำหนดมาตรฐานและข้อกำหนดในการออกแบบ ก่อสร้างและบูรณะอาคาร ด้านวิศวกรรมโครงสร้าง และวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมสุขาภิบาล • ทั้งปรับปรุงมาตรเดิม และพัฒนามาตรฐานใหม่ เช่น มาตรฐานการเดินสายไฟในอาคาร • ดำเนินการออกแบบอาคาร ด้านวิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมสุขาภิบาล • เฉพาะหน่วยราชการ • ร่วมกับสถาปัตย์ เช่น ที่ว่าการอำเภอ ศาลากลาง อบต. อบจ. โรงพยาบาล • งานโครงสร้าง เช่น เขื่อน • ให้คำปรึกษาในงานออกแบบอาคารด้านวิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมสุขาภิบาล • ตามคำร้องขอ เช่น การย้ายอาคาร การปรับเปลี่ยน (ร่วมกับสถาปัตย์) • การตรวจสอบอาคาร และการให้คำแนะนำแก้ไข • ในด้านความมั่นคงแข็งแรง => เฉพาะด้านโครงสร้าง • ในด้านความปลอดภัย => ด้านงานระบบ ไฟฟ้า สุขาภิบาล เครื่องกล • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

  28. 2. การพิจารณา เป้าประสงค์ภายใต้แผนที่ยุทธศาสตร์ระดับกรมฯ • ประเด็นพิจารณา • จากบทบาท หน้าที่ และภารกิจของสำนัก/กอง ของท่าน ท่านเกี่ยวข้องกับเป้าประสงค์ใดบ้าง? อย่างไร? • ใบงาน • ระบุความเกี่ยวข้องของสำนัก/กองของท่าน ต่อเป้าประสงค์ในระดับกรม • เป็นเจ้าภาพ : ให้นำเป้าประสงค์ระดับกรมฯ มาใช้เป็นเป้าประสงค์ของสำนัก/กอง • เป็นผู้สนับสนุน : หากเป็นผู้สนับสนุน โปรดระบุบทบาทหรือสิ่งที่สำนัก/กองจะดำเนินงานเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าประสงค์ในระดับกรม • ไม่มีความเกี่ยวข้อง

  29. ใบงานที่ 2 การพิจารณา เป้าประสงค์ภายใต้แผนที่ยุทธศาสตร์ระดับกรมฯ

  30. 3. การจัดทำเป้าประสงค์และแผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับสำนัก/กอง • ประเด็นพิจารณา • จากการวิเคราะห์ในข้อที่ 2 สำนัก/กองของท่านควรมีเป้าประสงค์อะไรบ้าง? และมีความสัมพันธ์อย่างไร? • ใบงาน • หากสำนัก/กองของท่านเป็นเจ้าภาพในเป้าประสงค์ระดับกรมฯ ให้นำเป้าประสงค์นั้นมาเป็นเป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กองของท่าน • หากท่านเป็นผู้สนับสนุน ให้จัดทำเป้าประสงค์ของสำนัก/กองของท่านจากบทบาทหรือสิ่งที่สำนัก/กองของท่านสนับสนุนเป้าประสงค์ในระดับกรมฯ • เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเป้าประสงค์ที่จัดทำขึ้นตามหลักเหตุ-ผล • ทบทวนแผนที่ยุทธศาสตร์ที่จัดทำขึ้นว่าครอบคลุมบทบาท หน้าที่ ภารกิจตามใบงานที่ 1

  31. ใบงานที่ 3 การจัดทำเป้าประสงค์และแผนที่ยุทธศาสตร์ในระดับสำนัก/กอง แผนที่ยุทธศาสตร์สำนัก/กอง........................... ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ คุณภาพ การให้บริการ งานออกแบบ งานให้คำปรึกษา งานตรวจสอบ การออกแบบสิ่งก่อสร้างที่เป็นไปตามมาตรฐานทางวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารตามมาตรฐานทางวิชาการ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ กำหนดมาตรฐานและข้อกำหนดในการออกแบบ การจัดการความรู้ การจัดการทุน ด้านมนุษย์ การพัฒนา องค์กร

  32. 4. การกำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ • ประเด็นพิจารณา • ท่านจะทราบได้อย่างไรว่าเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ บรรลุผลสัมฤทธิ์? • ใบงาน • หากเป้าประสงค์ของสำนัก/กอง เป็นเป้าประสงค์เดียวกับกรมฯ ให้พิจารณาตัวชี้วัดในระดับกรม ว่าสามารถนำมาใช้ประเมินในระดับสำนัก/กองของท่านได้หรือไม่ • ถ้าสามารถนำมาใช้ได้ ให้นำตัวชี้วัดจากระดับกรมฯมาใช้ • ถ้าไม่สามารถนำมาใช้ได้ ให้จัดทำตัวชี้วัดใหม่ • หากเป้าประสงค์ของสำนัก/กอง เป็นเป้าประสงค์ที่จัดทำขึ้นใหม่ ให้จัดทำตัวชี้วัดใหม่ที่สะท้อนเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้

  33. ตัวชี้วัด ข้อมูลจากกรมฯ 12 มีนาคม 2550

  34. ตัวชี้วัด หมายเหตุ แสดงเป้าประสงค์และตัวชี้วัดภาคบังคับตามคำรับรอง ปี 50 ข้อมูลจากกรมฯ 12 มีนาคม 2550

  35. ตัวชี้วัด หมายเหตุ แสดงเป้าประสงค์และตัวชี้วัดภาคบังคับตามคำรับรอง ปี 50 ข้อมูลจากกรมฯ 12 มีนาคม 2550

  36. ตัวชี้วัด ข้อมูลจากกรมฯ 12 มีนาคม 2550

  37. OS Matrix เครื่องมือช่วยให้ผู้บริหารของสำนัก / กอง สามารถสร้างตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดระดับองค์กร

  38. ตารางแสดงความรับผิดชอบ (OS Matrix) ตัวอย่าง Owner Owner Owner Owner Owner Owner Owner Owner

  39. ตัวอย่าง (owner-supporter: OS matrix) สำนักงานประมงจังหวัด

  40. ใบงานที่ 4 การกำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ สำนัก/กอง..........................................

  41. 5.การให้น้ำหนักตัวชี้วัด กำหนดเป้าหมาย และเกณฑ์การประเมินผล • ประเด็นพิจารณา • การให้น้ำหนักความสำคัญกับตัวชี้วัด • การกำหนดค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผล • ใบงาน • ให้น้ำหนักตัวชี้วัดแต่ละตัวตามความสำคัญของตัวชี้วัดนั้นๆ โดยค่าน้ำหนักของตัวชี้วัดต้องรวมกันได้ 100% • กำหนดค่าเป้าหมายและเกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดแต่ละตัว

  42. ใบงานที่ 5 การให้น้ำหนักตัวชี้วัด กำหนดเป้าหมาย และเกณฑ์การประเมินผล สำนัก/กอง..........................................

  43. ขั้นตอนการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากสำนักงานจังหวัดสู่ระดับหน่วยงานขั้นตอนการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากสำนักงานจังหวัดสู่ระดับหน่วยงาน • ขั้นตอนที่ 1 ยืนยันบทบาทหน้าที่ของกอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย โดยยึดหลักความรับผิดชอบหลักของสำนัก/กอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย ตามที่ได้ระบุไว้ในรายละเอียดการกำหนดตำแหน่ง (Job Description) เพื่อยืนยันบทบาทหน้าที่ขอกอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย/ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน • ขั้นตอนที่ 2 กำหนดเป้าประสงค์ที่กอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย มีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ขององค์กร ให้กอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย พิจารณาเป้าประสงค์ต่างๆ ขององค์กรว่า สำนัก/กอง/กลุ่มงาน/ฝ่ายมีบทบาทอย่างไรต่อเป้าประสงค์เหล่านั้น และเลือกเป้าประสงค์ที่สำนัก/กอง/กลุ่มงาน/ฝ่ายมีส่วนผลักดันให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

  44. ขั้นตอนการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดจากสำนักงานจังหวัดสู่ระดับหน่วยงาน (ต่อ) • ขั้นตอนที่ 3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมหน้าที่ที่ พิจารณาความรับผิดชอบหลักจากขั้นตอนที่ 1 เทียบกับเป้าประสงค์ขององค์กรที่กอง/กลุ่มงาน/ฝ่ายมีส่วนเกี่ยวข้องจากขั้นตอนที่ 2 หากเป้าประสงค์ที่กอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย รับจากองค์กรยังไม่ครอบคลุมความรับผิดชอบหลักให้กำหนดเป้าประสงค์ที่ต้องการพัฒนาหรือมุ่งเน้นเพื่อให้งานตามความรับผิดชอบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด • ขั้นตอนที่ 4 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อให้เป้าประสงค์ขององค์กรประสบผลสำเร็จ โดยมีการกำหนดเป้าหมายของความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการประเมินผลสำเร็จตามค่าเป้าหมายที่กำหนดด้วย

  45. การถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับสำนัก/กอง สู่บุคคล

  46. การจัดทำตัวชี้วัดระดับบุคล จะดำเนินการภายหลังจากการจัดทำตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย เสร็จสิ้นแล้ว และควรจัดกลุ่มงาน/สายงาน (Job Family) ภายใต้สำนัก/กอง/กลุ่มงาน/ฝ่าย โดยจัดบุคลากรที่อยู่ในตำแหน่งเดียวกัน ลักษณะงานคล้ายกัน ที่มีหน้าที่ใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน แล้วจึงทำการถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับบุคคล

  47. ขั้นตอนที่ 1 ยืนยันหน้าที่ของบุคคล เป็นการยืนยันหน้าที่ของบุคคลจากหน้าที่งานตามที่ได้ระบุไว้ในรายละเอียดการกำหนดตำแหน่ง (Job Description) เพื่อแสดงรายละเอียดหน้าที่และความรับผิดชอบหลักๆ ของแต่ละบุคคล หลังจากนั้นจึงดำเนินการจัดกลุ่มงานที่มีลักษณะเหมือนกันเข้าเป็นกลุ่มงาน/สายงาน (Job Family) และสรุปความรับผิดชอบหลักแต่ละกลุ่มงานให้ชัดเจน เพื่อให้สะดวกต่อการจัดทำเป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับบุคคล

  48. ขั้นตอนที่ 2 กำหนดเป้าประสงค์ที่บุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชา พิจารณาเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชาที่กลุ่มงาน/สายงานนั้น ๆ มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยใช้รายละเอียดการกำหนดตำแหน่งเป็นหลักในการพิจารณาว่า ในตำแหน่งงานนั้น ๆ มีส่วนเกี่ยวข้องกับเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชาอย่างไรบ้าง และกำหนดเป้าประสงค์ที่บุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชาให้บรรลุเป้าหมาย

  49. ขั้นตอนที่ 3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่ พิจารณาความรับผิดชอบหลังจากขั้นตอนที่ 1 เทียบกับเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชาที่บุคคลมีส่วนผลักดันจากขั้นตอน ที่ 2 หากเป้าประสงค์ที่บุคคลรับจากผู้บังคับบัญชายังไม่ครอบคลุมความรับผิดชอบหลักให้กำหนดเป้าประสงค์ที่ต้องการพัฒนาหรือมุ่งเน้นเพื่อให้งานตามความรับผิดชอบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  50. ขั้นตอนที่ 4 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ หากบุคคลมีหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายพิเศษ ควรนำมาพิจารณาว่างานที่ได้รับมอบหมายพิเศษนั้น เป็นส่วนหนึ่งของเป้าประสงค์ที่ผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชาและเป้าประสงค์ของหน้าที่ที่มีอยู่แล้วตามขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 3 หรือไม่ หากเป้าประสงค์ที่มีอยู่ยังไม่ครอบคลุมงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ ควรกำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ

More Related