1 / 19

ระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยชุมชนตาก

ระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยชุมชนตาก. ระบบคุณภาพ วชช. สมศ. 5 มาตรฐาน. EQA. สวชช. 10 องค์ประกอบ. ก.พ.ร. 4 มิติการประเมิน. IQA. PMQA. กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยชุมชนตาก. ผู้อำนวยการ. รองผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายและแผน. หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา.

paiva
Download Presentation

ระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยชุมชนตาก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยชุมชนตากระบบประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยชุมชนตาก

  2. ระบบคุณภาพ วชช. สมศ. 5 มาตรฐาน EQA สวชช. 10องค์ประกอบ ก.พ.ร. 4 มิติการประเมิน IQA PMQA

  3. กลไกการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลัยชุมชนตาก ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการฝ่ายนโยบายและแผน หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

  4. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา • มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพที่เป็นรูปธรรม***(คู่มือ) • ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญโดยมีการดำเนินงานทุกกิจกรรม ที่มุ่งสู่กรอบตัวชี้วัดคุณภาพ***(PDCA) • มีการจัดการความรู้พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปข้อคิดเห็น และแนวทางการแก้ไขปัญหา

  5. แนวทาง QA_Tak ใช้แนวคิด TQM (Dr.Kano’s house) สกอ. ,สมศ.,กพร. • สร้างคู่มือการประกันคุณภาพ • ระบบการจัดทำรายงาน • แผนปฏิบัติการประจำปี • แนวทางการจัดเก็บข้อมูล • รายงานพร้อมวาระการประชุม • การกระจายค่าน้ำหนักและทำรายงาน • แนวทางการพัฒนานำเสนอต่อผู้บริหาร ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์/กลยุทธ์/นโยบาย กลไกขับเคลื่อน ระบบ เทคนิค/เครื่องมือคุณภาพ กระตุ้นด้วยกิจกรรมและการจัดการความรู้ เทคโนโลยีสนับสนุน พัฒนาบุคลากร/สร้างบุคลากร

  6. แนวทาง QA_Tak ใช้แนวคิด TQM (Dr.Kano’s house) สกอ. ,สมศ.,กพร. ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์/กลยุทธ์/นโยบาย • ปรับโครงสร้างการบริหารให้มีความชัดเจน • ปรับปรุงการบริหารงานประจำวันในฝ่ายฯ • คณะกรรมการบริหารงานคุณภาพโดยสภาวชช. • คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา • คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน • กำหนดให้มีกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ • กำหนดผู้กำกับและรับผิดชอบทุกตัวชี้วัด • การประเมินภายในระดับงาน และกลุ่มงาน กลไกขับเคลื่อน ระบบ เทคนิค/เครื่องมือคุณภาพ กระตุ้นด้วยกิจกรรมและการจัดการความรู้ เทคโนโลยีสนับสนุน พัฒนาบุคลากร/สร้างบุคลากร

  7. แนวทาง QA_Tak ใช้แนวคิด TQM (Dr.Kano’s house) สกอ. ,สมศ.,กพร. • PDCA ทุกกิจกรรม • กิจกรรม TQM • Check list ผลการทำงานด้วยการประเมินงานและโครงการทุกงาน ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์/กลยุทธ์/นโยบาย กลไกขับเคลื่อน ระบบ เทคนิค/เครื่องมือคุณภาพ กระตุ้นด้วยกิจกรรมและการจัดการความรู้ เทคโนโลยีสนับสนุน พัฒนาบุคลากร/สร้างบุคลากร

  8. แนวทาง QA_Tak ใช้แนวคิด TQM (Dr.Kano’s house) สกอ. ,สมศ.,กพร. • แผนการจัดกิจกรรมการปฏิบัติงานกลุ่มงาน • มีการจัดการความรู้ด้านประกันคุณภาพ • สร้างกิจกรรมความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง • สร้างบรรยากาศการทำงานด้วย KM • Activity Based Management (ABM) ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์/กลยุทธ์/นโยบาย กลไกขับเคลื่อน ระบบ เทคนิค/เครื่องมือคุณภาพ กระตุ้นด้วยกิจกรรมและการจัดการความรู้ เทคโนโลยีสนับสนุน พัฒนาบุคลากร/สร้างบุคลากร

  9. แนวทาง QA_Tak ใช้แนวคิด TQM (Dr.Kano’s house) สกอ. ,สมศ.,กพร. • จัดหา/พัฒนาระบบฐานข้อมูล ได้แก่ QA_TAK ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์/กลยุทธ์/นโยบาย กลไกขับเคลื่อน ระบบ เทคนิค/เครื่องมือคุณภาพ กระตุ้นด้วยกิจกรรมและการจัดการความรู้ เทคโนโลยีสนับสนุน พัฒนาบุคลากร/สร้างบุคลากร

  10. แนวทาง QA_Tak ใช้แนวคิด TQM (Dr.Kano’s house) สกอ. ,สมศ.,กพร. • กำหนด Job description งานประกันคุณภาพสู่บุคลากรฝ่ายปฏิบัติทุกคน • จัดทำ KPI และ Competency ของบุคลากร QA • แผนพัฒนาบุคลากรทั้งในฝ่ายโดยตรงและบุคลากรทุกหน่วยงาน ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์/กลยุทธ์/นโยบาย กลไกขับเคลื่อน ระบบ เทคนิค/เครื่องมือคุณภาพ กระตุ้นด้วยกิจกรรมและการจัดการความรู้ เทคโนโลยีสนับสนุน พัฒนาบุคลากร/สร้างบุคลากร

  11. กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษากระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา การควบคุม Control การตรวจสอบ Audit ประเมิน Asess

  12. การควบคุมคุณภาพ ปรัชญา/วิสัยทัศน์/พันธกิจ วัตถุประสงค์/แผนดำเนินงาน • กระบวนการดำเนินงานตามภารกิจหลัก • การจัดการศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญา • การฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นและบริการวิชาการ • การพัฒนานักศึกษา • การวิจัย • การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลสัมฤทธิ์ กระบวนการดำเนินงานสนับสนุน 6. การบริหารจัดการเครือข่าย 7. การบริหารจัดการ 8. การเงินและงบประมาณ 9. ระบบประกันคุณภาพภายใน

  13. การตรวจสอบ คณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชน คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตรวจสอบผลการทำงานตามองค์ประกอบ และตัวชี้วัดคุณภาพ ประชุมกลุ่มย่อยแยกฝ่ายงานรับผิดชอบ รวบรวมและรวยงานข้อมูลการประเมินตนเอง คณะกรรมการสภาวิทยาลัย และผู้บริหารฝ่ายดำเนินการปรับปรุงแก้ไข สรุปการประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มงาน และภาพรวมของสถานศึกษา

  14. การประเมิน จากคณะกรรมการประเมินภายในประจำปี • ภาพรวมของสถานศึกษา • - แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ • Bet Practices • จัดเวทีชี้แจ้งผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา • เพื่อจัดทำ Action Plan รายองค์ประกอบและตัวชี้วัด - ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ - กลุ่มงานและหน่วยจัดการศึกษา ควรจัดทำแนวทางการพัฒนา และผลการพัฒนาในปีถัดไป

  15. รูปแบบการจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษารูปแบบการจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษา ส่วนที่ 1 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานประจำปีของหน่วยงานสถานศึกษา ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงานประเมินตนเองตามองค์ประกอบ Swot Analysis/กลยุทธ์การพัฒนา/เอกสารอ้างอิง ส่วนที่ 4 แนวทางการพัฒนาและผลการพัฒนาตามรายงานการ ประเมินคุณภาพปีที่ผ่านมา ส่วนที่ 5 ภาคผนวก รายละเอียดผลกิจกรรมการดำเนินงานประเมินคุณภาพภายใน

  16. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองมาตรฐานทิศทางการพัฒนาคุณภาพเพื่อการรับรองมาตรฐาน 1. การพัฒนาระบบการรวบรวมข้อมูลและระบบสารสนเทศแบบ Up-to-Date 2. การจัดการความรู้ KM พร้อมรับการบริหารความเสี่ยงกับ QA 3. จัดทำ Work Flow และ Work shop ทุกงาน/กลุ่มงาน และหน่วยจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบงานให้เป็นไปตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพ PMQA /QA /EQA 4. กำกับติดตามตรวจเยี่ยมเพื่อปรับปรุงกระบวนการ TQM 5. รายงาน SAR และประเมินผลตามระยะเวลาที่กำหนด

  17. วิทยาลัยชุมชนตาก ในปี 2554 : พัฒนาการ 2554 2553 องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น ด้านการศึกษาและฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 2552 องค์กรแห่งการเรียนรู้ ที่ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อการพัฒนาคนและพัฒนาท้องถิ่น 2551 วิทยาลัยชุมชนพัฒนาคน พัฒนาท้องถิ่น 2550

  18. ระดับชาติ ผลการประเมิน : วิทยาลัยชุมชนตาก ปีการศึกษา 2550การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ของวิทยาลัย โดยสำนักงานประเมินคุณภาพและรับรองมาตรฐานการศึกษา (สมศ.) ผ่านการรับรองโดยไม่มีเงื่อนไข อยู่ใน ระดับดี คะแนนเฉลี่ย 4.16 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2552 อยู่ใน ระดับดีมาก คะแนนเฉลี่ย 4.54

  19. ทั้งนี้ ยินดีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เข้าร่วมประชุม ติดต่อเพิ่มเติม : 081-887-0129 E-mail :aorpcc2520@hotmail.com Thanya.tanno@gmail.com ขอบคุณค่ะ

More Related