1 / 16

การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด

การชี้แจงภารกิจ เพื่อขับเคลื่อนตัวชี้วัด การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เรื่อง การจัดการความเสี่ยง (Risk Management).

zagiri
Download Presentation

การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การชี้แจงภารกิจ เพื่อขับเคลื่อนตัวชี้วัด การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เรื่อง การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) วันอังคาร ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2553 เวลา 11.00-12.00 น. ณ โรงแรมเซาท์เทิร์น วิว จังหวัดปัตตานี

  2. การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 2SP7 ผ่านระบบวิดีทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย วันที่ 2 พฤศจิกายน 2552 เวลา 13.30 น.

  3. SP 7 การดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 SP 7จังหวัดต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO เพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดำเนินแผนงาน/โครงการที่สำคัญซึ่งต้องครอบคลุมความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล หมวด 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ (SP)

  4. SP 7 • การบริหารความเสี่ยง คือ กระบวนการที่เป็นระบบในการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรมรวมทั้งกระบวนการการดำเนินการต่างๆ เพื่อลดมูลเหตุของโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหายจากการดำเนินการที่ไม่เป็นไปตามแผน เพื่อให้ระดับของความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างเป็นระบบ โดยในการดำเนินการบริหารความเสี่ยงตาม SP 7 นั้น มุ่งเน้นแผนงาน/โครงการที่สำคัญซึ่งผลสำเร็จของแผนงาน/โครงการมีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์

  5. SP 7 • จังหวัดต้องมีการวิเคราะห์ และบริหารจัดการความเสี่ยงตามประเด็นยุทธศาสตร์ให้ครบถ้วน ทุกประเด็นยุทธศาสตร์ • คัดเลือกแผนงาน/โครงการที่สำคัญและมีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์ และเป็นโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ • ประเด็นยุทธศาสตร์ละอย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ • เพื่อจัดการกับการเปลี่ยนแปลงที่อาจส่งผลกระทบต่อความสำเร็จหรือการบรรลุเป้าหมายของแผนงาน/โครงการ

  6. จังหวัดต้องมีขั้นตอนการดำเนินการ หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) คือ... • การกำหนดเป้าหมายการบริหารความเสี่ยง (Objective Setting) • การระบุความเสี่ยงต่างๆ (Event Identification) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสี่ยง (Risk Response) • กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (Control Activities) • ข้อมูลและการสื่อสารด้านบริหารความเสี่ยง (Information and Communication) • การติดตามผลและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่างๆ (Monitoring)

  7. ประสิทธิผล (Effectiveness) • ประสิทธิภาพ (Efficiency) • การมีส่วนร่วม (Participation) • ความโปร่งใส (Transparency) • การตอบสนอง (Responsiveness) • ภาระรับผิดชอบ (Accountability) • นิติธรรม (Rule of Law) • การกระจายอำนาจ (Decentralization) • ความเสมอภาค (Equity) จังหวัดต้องนำแนวคิดเรื่องธรรมาภิบาล ที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัยในการวิเคราะห์ ความเสี่ยงด้วย ความเสี่ยงเรื่องธรรมาภิบาลที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินแผนงาน/โครงการเพื่อให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ได้แก่

  8. A D L ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วนจะพิจารณา จาก... • คัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 อย่างน้อยประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 แผนงาน/โครงการโดยเป็นแผนงาน/โครงการที่ได้รับงบประมาณและมีผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์นั้นๆ • วิเคราะห์ความเสี่ยงของแผนงาน/โครงการ ตามมาตรฐาน COSO ซึ่งต้องนำความเสี่ยงเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องมาเป็นปัจจัยในการวิเคราะห์ด้วย • มีแผนบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับผลการผลการวิเคราะห์ • ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงที่กำหนดไว้ • แสดงให้เห็นถึงวิธีการหรือช่องทางที่ใช้ในการสื่อสารทำความเข้าใจ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำแผนบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติได้ • มีการรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงต่อผู้บริหารอย่างน้อย 2 ไตรมาส โดยสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรคที่พบ พร้อมให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไข • จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง พร้อมทั้งแสดงผลสำเร็จเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินการตามแผนฯ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ • หมายเหตุ กรณีเป็นแผนงาน/ • โครงการที่ดำเนินการต่อเนื่อง • ในปีงบประมาณต่อไป • จะต้องมีการสรุปวิเคราะห์ • ความเสี่ยงที่เหลืออยู่ด้วย

  9. A

  10. A

  11. D

  12. L

  13. L

  14. L

  15. ศึกษา ทำความเข้าใจได้จาก Self-LearningToolkits และเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร.www.opdc.go.th

  16. ____ __ Contact Person

More Related