610 likes | 729 Views
Chapter 7. Information Technology For Management 5 th Edition Turban, Leidner McLean, Wetherbe Lecture Slides by A. Lekacos, Stony Brook University John Wiley & Sons, Inc. IT Compliance Functional Applications and, Transaction Processing,. Learning Objectives.
E N D
Chapter 7 Information Technology For Management 5th Edition Turban, Leidner McLean, Wetherbe Lecture Slides by A. Lekacos, Stony Brook University John Wiley & Sons, Inc. IT Compliance Functional Applications and, Transaction Processing,
Learning Objectives • ความสัมพันธ์ของพื้นที่ต่าง ๆ ที่ทำงานเป็นฟังก์ชัน (functional areas) และกระบวนการทางธุรกิจ (business processes) กับสายโซ่แห่งคุณค่า (Value chain) • ระบุถึงระบบสารสนเทศที่ใช้บริหารจัดการเชิงฟังก์ชัน • อธิบายถึงพลังขันดันและคุณสมบัติต่างๆของระบบสารสนเทศเชิงฟังก์ชัน • อธิบายเกี่ยวกับระบบประมวลผลการทำธุรกรรม (transaction processing system (TPS)) และการใช้ IT เข้ามาสนับสนุน • อธิบายการใช้ IT และ Web มาสนับสนุนในฝ่ายบัญชี (accounting) และการเงิน(finance) • อธิบายการใช้ IT และ Web มาสนับสนุนในด้านการตลาดและการขาย • อธิบายการใช้ IT และ Web มาสนับสนุนในด้านการบริหารการผลิต/การปฎิบัติงาน (production / operations management) รวมถึงการจัดส่ง (logistic) • อธิบายการใช้ IT และ Web มาสนับสนุนในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ (human resources management) • อธิบายถึงประโยชน์และเรื่องต่างๆเกี่ยวกับระบบสารสนเทศต่าง ๆ ที่รวมฟังก์ชันเข้าไว้ด้วยกัน(integrating functional information systems)
Wireless Inventory Management System At Dartmouth-Hitchcock Medical Center (1) • The Business Problem • Dartmouth-Hitchcock Medical Center (DHMC) เป็น Medical complex ขนาดใหญ่ ใน New Hampshire ซึ่งมีโรงพยาบาล สถานศึกษาและคลีนิคอยู่ภายในมากมาย • DHMC มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้พบกับปัญหาใหญ่เรื่องหนึ่งคือ การกระจาย เวชภัณฑ์ไปยังส่วนต่างๆ ซึ่งสั่งโดยนางพยาบาล แต่เนื่องจาก DHMC ขาดแคลนนาง พยาบาล ดังนั้นถ้าให้นางพยาบาลใช้เวลาอยู่กับการสั่งเวชภัณฑ์มากขึ้น เขาก็จะมีเวลา ทำงานทางด้านพยาบาลผู้ป่วยน้อยลง • นอกจากนั้นการให้นางพยาบาลสั่งซื้อเวชภัณฑ์ทำให้เกิดปัญหาทางด้านการบริหารสินค้าคงคลังตามมา โดยที่นางพยาบาลมีเวลาน้อย จึงสั่งเวชภัณฑ์แต่ละครั้งมากกว่าที่ต้อง การใช้จริง เพื่อจะได้ประหยัดเวลาไม่ต้องสั่งบ่อยๆ ในทางกลับกัน บางทีก็รอจนนาที สุดท้าย แล้วจึงสั่งเวชภัณฑ์ ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากการจัดส่งแบบด่วน
Wireless Inventory Management System At Dartmouth-Hitchcock Medical Center (2) • ทางออกทางหนึ่งคือ ส่งงานนี้ให้ฝ่าย Staff ทำ แต่ก็ต้องจ้างพนักงานเพิ่ม ซึ่ง DHMC ไม่มีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เพียงพอ • นอกจากนั้น การติดต่อกับนางพยาบาลในการดูว่า จำนวนที่ต้องการเท่าใดและจะ ใช้เมื่อใดค่อนข้างจะยุ่งยาก ทั้งนี้เนื่องจากขนาดของเวชภัณฑ์มีมากกว่า 27,000 รายการ
Wireless Inventory Management System At Dartmouth-Hitchcock Medical Center (3) • The IT Solution • เมื่อมองปัญหาจริงๆแล้วมันเกี่ยวกับเรื่องของโซ่อุปทาน(Supply Chain) เป็นหลัก ดังนั้น DHMC จึงได้มองหา IT เพื่อนำเข้ามาแก้ปัญหา • โดยแนวความคิดของ DHMC คือ เชื่อมต่ออุปกรณ์มือถือที่ใช้คลื่น(Wirelesshandheld devices) เข้ากับระบบสาร สนเทศในการบริหารจัดการด้านสินค้าคงคลังและการจัดซื้อ • สำนักเวชภัณฑ์กลางได้จัดให้มี wireless LAN (Wi-Fi) เพื่อต่อเข้ากับ Handheld device ได้ ดังนั้นข้อมูลต่าง ๆ จึงสามารถ Upload หรือ Download ระหว่าง Handheld device กับ Network ได้ ที่ใดไม่สามารถใช้ Wi-Fi ได้ ก็ใช้ผ่านทางสายเคเบิลของPCได้ • DHMC ได้จัดตั้ง “par level” (หมายถึงระดับที่การจ่ายเวชภัณฑ์ถูกบันทึกเอาไว้) ของแต่ ละรายการในสต็อกขึ้นมา par level จะอยู่บนพื้นฐานรายงานการใช้เวชภัณฑ์ไปจริงๆ และเป็นการร่วมมือระหว่างพยาบาล กับstaff ที่บริการจัดการวัตถุดิบ
Wireless Inventory Management System At Dartmouth-Hitchcock Medical Center (4) • กระบวนการง่ายๆ นางพยาบาลทำการ scan เวชภัณฑ์แต่ละรายการที่จ่ายออกไป ซอฟท์ แวร์จะทำการปรับลดจำนวนสินค้าคงคลังลงโดยอัตโนมัติ เมื่อระดับ par level ของยา นั้นๆ ลดลงถึงระดับหนึ่ง ซอฟท์แวร์จะออกใบสั่งซื้อไปยังซัพพลายเออร์โดยอัตโนมัติ • นอกจากนั้น เมื่อระดับจำนวนยาของสถานที่ที่พยาบาลนั้นประจำอยู่ลดลงถึงจุดๆหนึ่ง เรียก station’s par level จะมีการลำเลียงยาจากห้องจ่ายยาส่วนกลางไปยังสถานที่นั้นๆ ทันที นอกจากนั้นระบบยังยอมให้นางพยาบาลทำการร้องขอการทำ restock ใหม่ใน สถานที่นั้นๆได้ด้วย
Wireless Inventory Management System At Dartmouth-Hitchcock Medical Center (5) • The Results • ระดับสินค้าคงคลังลดลง 50% ทำให้คุ้มค่าใช้จ่ายภายในไม่กี่เดือน การจัดซื้อวัตถุดิบ และการบริการงานมีความคงเส้นคงวาทั่วทั้งองค์กร เวลาที่นางพยาบาลต้องใช้ในการ ตามหาวัตถุดิบลดลงอย่างมากมาย และการเข้าถึงสารสนเทศที่ทันสมัยได้ถูกปรับปรุง ขึ้น จากผลที่ได้ข้างต้นเป็นการลดต้นทุนและปรับปรุงการดูแลคนไข้ได้ดีขึ้น • Lessons learned from this case • ช่วยอ่านเพิ่มเติมในหน้า 259
6.1) ระบบสารสนเทศเชิงฟังก์ชัน (Functional Information Systems) • ระบบสารสนเทศเชิงฟังก์ชัน (Functional information systems)คือสารสนเทศที่รองรับองค์กรทั้งหมด กระบวนการต่างๆ และโมเดลทางธุรกิจ นอกจากนั้น ตัวมันยังประกอบ ด้วยระบบสารสนเทศย่อยๆ ซึ่งรองรับการดำเนินงานในแต่ละ function areaด้วย โดยนัยข้างต้น สารสนเทศเชิงฟังก์ชันอาจอิสระจากกันตามฟังก์ชันของแต่ละองค์กร หรือ ไม่อิสระจากกันก็ได้ ถ้าฟังก์ชันนั้นๆเป็นไปในเชิงข้ามสายงาน (across department) ทั้งนี้ขึ้นกับโมเดลทางธุรกิจที่วางเอาไว้ • การเชื่อมต่อ(Interfacing): Functional information systems อาจเชื่อมต่อกันและกัน ภายในแต่ละฝ่าย ในองค์กรหรือเชื่อมต่อกับระบบต่างๆภายนอกองค์กร • รองรับการทำงานในระดับงานที่แตกต่างกัน ถึงสามระดับได้แก่ ระดับปฎิบัติการ ระดับบริหาร และระดับวางกลยุทธ์ Enterprise Wide Environment– All business units.
The Functional Areas, TPS, CRM and Integration connection หนึ่ง Functional Area
Functional Areas ในธุรกิจหนึ่งๆ Function Specific System Functional Area • A/R • A/P • Payroll • General Ledger • Compensation • Vacation • Skills/Training • Receiving • Fulfillment • Process control • Purchasing • Cash Management • Asset Management • Budgeting • Retail Pricing • Sales Promotions • Sales Force Management. • Customer Loyalty • Interactive Marketing • Order Taking • CRM • Self-service
Functional Areas – Value Chain Perspective • Value chain modelเป็นการมองในเชิงการดำเนินการในองค์กรทั้งในแง่ของ primary activities (แสดงถึง flow of goods และ services) กับ secondary (การสนับสนุน primary activities) ดังนั้น โครงสร้างขององค์กรจะต้องสนับสนุนทั้งสองแบบ
Major characteristic of functional information systems • พบเห็นบ่อยๆที่ระบบสารสนเทศเชิงฟังก์ชัน • เกิดจากการรวมระบบสารสนเทศขนาดเล็กทั้งหลายเข้าด้วยกัน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานที่เจาะจงใน function area หนึ่งๆ • การประยุกต์ใช้ IS ในเชิงเจาะจงภายใน function area ใดๆ อาจรวมกันเพื่อสนับสนุน ในเชิงระบบที่เป็นฟังก์ชันของหน่วยงานที่สัมพันธ์กัน หรือ เป็นอิสระจากกันอย่าง สิ้นเชิงก็ได้ หรือ รวมกันเพื่อรองรับการทำงานในเชิงข้ามสายงานอันเป็นการรองรับกระบวนการทางธุรกิจ • อาจมีการเชื่อมต่อ (Interfacing)ซึ่งกันและกันในรูปของ organizationwide information system หรือ เชื่อมต่อกับสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร • สนับสนุนระดับต่างในองค์กรที่แตกต่างกัน อันได้แก่ Operational, Managerial และ Strategic
7.2 Transaction Processing Information Systems (TPS) • TPS คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานที่ทำเป็นประจำ(routine) ซึ่งถือเป็นแกนหลัก การทำธุรกรรมทางธุรกิจ(core business transactions) • ทุกๆองค์กรธุรกิจ จะมีการทำธุรกรรมด้านธุรกิจต่างๆ(business transactions)เพื่อช่วย องค์กรดำเนินธุรกรรม (transaction) ที่สำคัญๆให้สำเร็จลุล่วงไป นอกจากนั้น บางครั้ง แต่ละการทำธุรกรรมหนึ่งๆ อาจสร้างธุรกรรมอื่นๆเพิ่มเติมเข้ามาอีกด้วย • ทั้งนี้เนื่องจากการคำนวณในการทำธุรกรรมเป็นแบบง่ายๆไม่มีความซับซ้อนและกระ บวนการทำธุรกรรมข้างต้นได้ถูกกำหนดไว้อย่างชัดเจน จึงทำให้ง่ายต่อการนำคอมพิว เตอร์เข้ามาใช้งานและได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย
Transaction processing system ประกอบด้วย • การตรวจดู (Monitor) • การรวบรวม (Collect) • การจัดเก็บ (Store) • การประมวลผล (Process) • การกระจายสารสนเทศ (Disseminates information) • สิ่งเหล่านี้ถือเป็นงานพื้นฐานของทุกๆกระบวนการของ core business transactions. • สามารถกล่าวได้ว่า เป้าหมายหลักของ TPS คือ จัดหาสารสนเทศทุกชนิดที่จำเป็น เพื่อทำให้ธุรกิจดำเนินไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิผล
Objectives of a TPS • จัดหาสารสนเทศทั้งหมดที่ต้องการจากฝ่ายกฎหมาย การบริหารงาน หรือ นโยบายของ องค์กร เพื่อทำให้ธุรกิจดำเนินการได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิผล • จัดการกับข้อมูลจำนวนมากได้อย่างมีประสิทธิผล • หลบเลี่ยงความผิดพลาดเนื่องมาจากการดำเนินงานในเชิงคู่ขนาน (concurrent operations) • จัดการกับความผันแปรต่างๆที่มีอยู่มากมาย • หลบเลี่ยงการเกิดหยุดชะงัก(downtime) ป้องกันไม่ให้ผลลัพธ์ต่างๆสูญเสียไปและรักษาความเป็นส่วนตัวกับความปลอดภัยในด้านสารสนเทศต่างๆ • ทำการเชื่อมต่อกับการประยุกต์ใช้ IT ที่หลากหลาย ทั้งนี้รวมถึง e-payment, e-procurement และ e-marketing.
Activities and Methods of TPSs • เริ่มจากข้อมูลถูกเก็บโดยคน หรือ ตัวตรวจจับต่างๆ แล้วป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์ผ่าน ทางอุปกรณ์อินพุทใดๆ (input device) จากนั้นระบบจะทำการประมวลข้อมูลในรูป แบบ ใดรูปแบบหนึ่งในสองรูปแบบต่อไปนี้ คือ batch หรือ online processing. • Batch processing:การประมวลข้อมูลเป็นแบทช์ที่คาบเวลาคงที่เป็นช่วงๆ ไป • Online processing:การประมวลข้อมูลทันที่ที่มีการทำธุรกรรมเกิดขึ้น
Web–Based and Online TPS • ในonline transaction processing (OLTP) หมายถึง การทำธุรกรรมทางธุรกิจ ที่มีการ ประมวลผลแบบ online ทันทีที่มันเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น เมื่อทันทีที่ท่านจ่ายเงินเมื่อซื้อ สินค้าที่จุดจ่ายเงิน ระบบจะทำการหักจำนวนสินค้านั้นๆออกจากสินค้าคงคลัง แล้วเพิ่ม จำนวนเงินที่ท่านซื้อเข้าไปในยอดขายของร้าน และ ปรับจำนวนการขายสินค้านั้นๆ ออกไป ระบบจะดำเนินการทันทีในแบบเวลาจริง(real time) • เมื่อนำ OLTP มาผนวกเข้ากับ Web Technologies ทำให้ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบธุรกรรมที่ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา • อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 7.1 “ Modernizing the TPS cuts delivery time and saves money”, page 264
Web-based interactive transaction processing • Interactive Internet TPSเป็นการขยาย OLTP ออกไปเพื่อจัดให้มี enhanced real time transaction processing บน Internet หรือ intranets ทำให้ Multi-store chains สามารถเข้าถึงจากระบบคอมพิวเตอร์กลางได้เลย โดยไม่ต้องอาศัย in-store processors.
Typical Tasks in Transaction Processing • รูปแบบทั่วๆไปของการประมวลผลทางธุรกรรมในการทำธุกิจมักจะคล้ายๆกัน ซึ่ง ประกอบด้วยกระบวนการดังต่อไปนี้ • Order Processing • การสั่งซื้อสินค้าหรือบริการการไหลของงานจะเริ่มจากทางด้านลูกค้ามายังบริษัท อาจ ทำผ่านทางโทรศัพท์ กระดาษ เช่น Fax หรือ ทางสื่ออิเล็คทรอนิคส์ การรับคำสั่งซื้อ และดำเนินการอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผลย่อมสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า • เมื่อคำสั่งซื้อมาถึง ระบบประมวลผลด้านการรับคำสั่งซื้อ (order processing system) จะ ทำการรับคำสั่งซื้อ จัดทำเป็นเอกสาร เชื่อมต่อไปยังส่วนที่เกี่ยวข้อง สรุปผล และ จัดเก็บคำสั่งซื้อนี้เป็นหลักฐาน โดยอาศัยระบบคอมพิวเตอร์ จะทำให้สามารถติดตาม ยอดขายในแต่ละสินค้า แต่ละพื้นที่ แต่ละพนักงานขาย และยังจัดทำสารสนเทศทาง ด้านการขายและการตลาดให้กับองค์กรได้ตลอดเวลา • อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 7.2 “Automatic Vehicle Location and Dispatch System in Singapore”, page 265
What if TPS fails? • TPS ถือว่าเป็น core activities ของระบบ ดังนั้นเมื่อมันเกิดข้อบกพร่องขึ้นย่อมก่อให้เกิด disaster • อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 7.3 “The TIAA-CREF Computerized Reporting Failed” หน้า 266
Transaction Processing Software • มีซอฟท์แวร์ทางด้าน TPS ขายอยู่มากมายในตลาด ส่วนมากรองรับ Internet Transaction ได้ด้วย • การเลือกใช้ TPS Software บางครั้งเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก เพราะบางตัวก็มีเอกลักษณ์โดดเด่นที่แตกต่างกันออกไป ทำให้ผู้ซื้อตัดสินใจลำบาก มีองค์กรหนึ่งชื่อ Transaction Processing Performance Council (tpc.org) ได้พยายามทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ TPS Software เพื่อช่วยให้ผู้ที่ต้องการซื้อซอฟท์แวร์ TPS มาใช้ตัดสินใจได้ดีขึ้น
7.3 Managing production/ operations and logistics • Production and operation management (POM) functionคือ ความรับผิดชอบ ต่อกระบวน การซึ่งเปลี่ยนอินพุทต่างๆให้เป็นเอาท์พุทที่เป็นประโยชน์ ต่อการรปฎิบัติงานในธุรกิจนั้น ๆ ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการนำเอา IT มาสนับสนุน 4 ด้านด้วยกัน คือ • 1) บริหารจัดการการขนส่งและวัตถุดิบภายในองค์กร • การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory management) เพื่อดูถึงระดับของสินค้าคงคลังเท่าใดจึงจะเหมาะสม แยกการ ตัดสินใจได้เป็นสองแบบคือ • ก) จะสั่งของเข้ามาเมื่อใด • ข) จะสั่งของเข้ามาเท่าใด • การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การควบคุมคุณภาพเป็นส่วนสำคัญ การวิเคราะห์ต้องทำข้อมูลที่เก็บ เอาไว้ในฐานข้อมูล
IPO (Input Process Output) • การผลิตสินค้ามักจะเขียนแบบจำลองกว้างๆ คือ IPO หรือ Input (วัตถุดิบต่างๆที่ป้อน เข้าสู่กระบวนการ) Process (กระบวนการในการแปรรูปอินพุท (ใส่มูลค่าเพิ่มเข้า ไป) ให้เป็นเอาท์พุท Output (สินค้าที่ตรงตามความต้องการของลูกค้า)
2) การวางแผนการผลิตและปฎิบัติงาน (Planning production and operations) • ก) Material requirement planning (MRP):การบริการกระบวนการวางแผนที่รวมถึง การผลิต การจัดซื้อและสินค้าคงคลังต่างๆ ที่สัมพันธ์กัน • ข) Manufacturing resource planning (MRPII):กระบวนการวางแผนที่รวมเอาการผลิต การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง การจัดซื้อ บัญชี และ การปฎิบัติงานของพนักงาน ในองค์การหนึ่งๆ เข้าไว้ด้วยกัน • ค) Just-in-time systems:ระบบการจัดส่งสินค้าคงคลัง (ส่งวัตถุดิบเข้ามาเพื่อการผลิต) ที่ซึ่งวัตถุดิบ หรือ ชิ้นส่วนต่างๆเข้ามาถึงสถานประกอบการเมื่อต้องการใช้งาน (ไม่ใช่ เอามาเก็บเอาไว้ก่อนล่วงหน้า)
ง) การบริหารจัดการโครงการ (Project Management):โครงงานหนึ่ง ๆ คือ การทำงานช่วงเวลาหนึ่งที่ประกอบด้วยการทำงานที่สัมพันธ์กันหลาย ๆ ด้าน ต้นทุนคือเรื่องเงิน และกว่าจะเสร็จอาจเป็นหลายๆสัปดาห์หรือเป็นปี ซอฟท์แวร์ที่ใช้ช่วยมีหลายตัวเช่น: program evaluation and review technique (PERT) และ critical path method (CPM) มักถูกนำมาใช้บริหารจัดการกับ milestones, resources, costs, เป็นต้น • จ) การแก้ปัญหา (Trouble shooting):เป็นระบบที่ใช้ช่วยหาความผิดพลาดของกระบวนการภายในโรงงาน • ง) พื้นที่อื่น ๆเช่น ซอฟท์แวร์บริหารจัดการแวร์เฮาส์ (Warehouse management software)
3) Computer-integrated manufacturing • Computer-integrated manufacturing (CIM).หมายถึงการผลิตที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เข้าช่วยหลายๆระบบ เช่น CAD, CAM, MRP และ JIT สิ่งเหล่านี้ถุกนำมาประกอบเข้า ด้วยกันเป็นระบบหนึ่ง ๆ เพื่อใช้ในโรงงาน • CIM Model เป็นดังรูปในหน้าถัดไป พัฒนามาจาก CIM enterprise wheel โดย Technical Council of the Society of Manufacturing Engineers • วงกลมวงนอกแสดงถึง general business management • วงกลาง (ใหญ่) และแกนกลาง แสดงถึง 4 กระบวนการหลัก ได้แก่ 1) Product and Process Definition 2) Manufacturing planning and control 3) Factory Automation 4) Information Resource Management& Communication
7.4 Managing marketing and sales systems • ถ้าถามว่า IT จะช่วยบริหารจัดการทางด้านระบบการตลาดและการขายได้อย่างไร เมื่อ มองในเชิงมุ่งเน้นไปที่ลูกค้า คงจะต้องมาทำความเข้าใจเสียก่อนว่า ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไป ถึงมือลูกค้าได้อย่างไร คำตอบก็คือมันผ่านช่องทางทางการตลาดต่างๆหรือ ที่รู้จักกัน ทั่วไปว่า Channel • Channel systems หมายถึง ระบบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการส่งผ่านผลิตภัณฑ์ หรือ บริการไปยังลูกค้า และ เจรจาเกี่ยวกับสิ่งที่ลูกค้าต้องการ • ความซับซ้อนของระบบช่องทางข้างต้นแสดงไว้ในรูปถัดไป
Customer relations “The Customer is King /Queen” (1) • ปัจจุบันนี้ บริษัทต้องรู้ว่า ลูกค้าของเขาคือใคร จะต้องปฎิบัติต่อเขาอย่างไร ลูกค้าจึงจะ ภักดีกับเรา ลองมาดูตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานที่มุ่งเน้นไปที่ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง • ก) Customer profile และ preference analysis ข้อมูลของลูกค้าเดิมที่มีอยู่และแนวโน้ม ที่จะได้มาใหม่ถือเป็นข้อมูลที่วิกฤตต่อความสำเร็จ • ข) Prospective customer lists และ marketing Databasesองค์กรต้องรู้จักลูกค้าเดิมและ ผู้ที่อาจเป็นลูกค้าใหม่ในเชิงรายละเอียดต่างๆ IT สามารถช่วยสร้างฐานข้อมูลเพื่อสื่อสารกับลูกค้า • ค) Mass customization องค์กรต้องสามารถเสนอผลิตภัณฑ์ให้สอดรับกับความต้องการ ของลูกค้า ซึ่งลูกค้าแต่ละรายย่อมต้องการสินค้าที่แตกต่างกันออกไป (ซึ่งเหมาะสมกับตัวเขา) • อ่านเพิ่มเติมใน ตารางที่ 6.3 และ IT at Work 7.4 “Build Your Jaguar Online”, page 272
Customer relations “The Customer is King /Queen” (2) • จ) Personalizationควรระบุให้ลูกค้าทราบว่า การติดในแต่ละเรื่องนั้นใครเป็นผู้รับผิดชอบ โดยการทำผังองค์กรแล้วติดรูปถ่ายเพื่อง่ายต่อความเข้าใจ หรือ ใช้ซอฟท์แวร์เข้าช่วย • ฉ) Advertising and promotions ควรแจ้งให้ลูกค้าทราบถึงผลิตภัณฑ์หรือบริการที่องค์กรมี หรือ รายการส่งเสริมการขายต่างๆ ผ่านทางการโฆษณาบน internet
Distribution channels and In-store innovations • องค์กรหนึ่งๆต้องมีช่องทางในการจัดจำหน่ายหลายๆช่องทาง IT สามารถช่วยได้หลาย ทาง เช่น • ก) New IT-support distribution channelสร้างช่องทางใหม่ใหม่โดยใช้ internet • ข) Improve Shopping and Checkout at Retail Storeใช้ IT เพื่อทำกระบวนการซื้อขาย สินค้าทำได้เร็วขึ้น • อ่านเพิ่มเติมในหน้า 273-274 ซึ่งเป็นตัวอย่างสั้น ๆ ในการปรับปรุง เช่น • Hand-held wireless devices that scan the bar code UPC • Smart card or credit card • Information kiosk enable customers to view catalogs in stores • Self-checkout machines
Check-writers attached to cash registers • Computerization of various activities in retail stores • Video-based systems count and track shoppers in a physical store • ค) Distribution Channels Managementการบริหารช่องทางการกระจายสินค้า ต้อง ตรวจสอบ ติดตามได้ เพราะว่า สิ่งที่ต้องการคือความเร็วและความถูกต้องของระยะเวลาในการจัดส่ง เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า เพื่อให้ได้ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
Marketing Management • ตัวอย่างของการบริการจัดการทางด้านการตลาด ได้แก่ • ก) กำหนดราคาของผลิตภัณฑ์หรือการบริการ • ข) ผลิตผลของพนักงานขายแต่ละราย (Salesperson productivity) • sales force automation • sales productivity software • ค) วิเคราะห์ผลกำไร (Profitability analysis) • ง) วิเคราะห์ยอดขายและแนวโน้ม (Sales Analysis and trends) • จ) วางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ๆและการตลาด • อ่านเพิ่มเติมใน IT at Work 7.5 “Internet market research expedites time-to-market at Procter & Gamble” • ฉ) Web-based systems in marketing
7.5 Managing The Accounting and Finance Systems (1) • ฝ่ายการเงิน (Accounting) และ ฝ่ายบัญชี(finance)จะจัดการทางด้าน inflows และ outflow ของทรัพย์สินของบริษัท บางบริษัทก็จะแยกกันเป็นสองแผนก บางบริษัทก็จะ รวมกันเป็นแผนกเดียว • ทั้งสองส่วนนี้จะทำงานเกี่ยวกับ payroll, billing, cash management, เป็นต้น เราสามารถแยกออกได้เป็น 4 ส่วนได้แก่ • 1) Financial Planning and Budgeting • Financial and Economic Forecasting • Planning for Incoming Funds • Budgeting • Capital Budgeting
Managing The Accounting and Finance Systems (2) • 2) Managing Financial Transactions • Financial and Economic Forecasting • Planning for Incoming Funds • Budgeting • Capital Budgeting • 3) Investment Management • Access to Finance and Electronic Reports • Finance Analysis • เราลองมาดูในแต่ละหัวข้อ
Managing The Accounting and Finance Systems (3) • 4) Control and Auditing • Budgetary Control • Auditing • Finance Ratio Analysis • Product Pricing • Contract Management • Profitability Analysis and Cost Control
1) Financial planning and budgeting • ก) การพยากรณ์ทางด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์ (Financial and economic forecasting)เป็นองค์ความรู้เกี่ยวความสามารถและต้นทุนทางการเงิน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการวาง แผนทางด้านการเงินให้ประสบผลสำเร็จ • ข) วางแผนทางด้านเงินทุนที่จะเข้ามา (Planning for Incoming Funds) เงินทุนอาจจะมาจาก หลายแหล่ง การตัดสินใจเลือกอาจต้องอาศัย Decision support and Expert System • ค) การทำงบประมาณ (Budgeting)คือ แผนการใช้จ่ายทั้งหมด(ทั้งเงินและทรัพย์สิน)ของ องค์กรที่ต้องทำทุกปี ปัจจุบันนี้ มีซอฟท์แวร์หลายแพ็กเกจให้เลือกใช้ • ง) การทำงบประมาณต้นทุน (Capital budgeting)หมายถึง การทำบัญชีที่เป็นทรัพย์สินของ องค์กร เช่น net book value (NPY), internal rate of return (IRR) เป็นต้น ส่วนมากจะใช้ โปรแกรม Excel เข้าช่วย หรือ โปรแกรมสำเร็จรูป
2) Managing financial transactions • ขอยกตัวอย่างสักสองสามอย่าง ได้แก่ • ก) การประยุกต์ทางด้าน E-commerce ของ financial transactions • Global stock exchange(การซื้อขาย stock แบบ online 24 ชั่วโมง) • Handling multiple currencies(ทราบถึงการแลกเปลี่ยนเงินตราหลากหลายสกุล) • E-bonds (การซื้อขายพันธบัตรแบบอิเล็กทรอนิคส์) • Online Factoring (การจัดการการเงิน/บัญชีในโรงงานแบบ online) • Electronic Bill Presentation and Payments (ระบบการเก็บเงิน/การชำระเงิน) • Electronic Re-presentment of Checks (การเปลี่ยน Check หลังจากถูกปฎิเสธ) • ข) Virtual closeหมายถึง ความสามารถขององค์กรในการปิดบัญชีได้เร็วที่สุดหลังจากได้รับคำสั่งให้ทำ • ค) Expense Management Automation (EMA) หมายถึงระบบที่มีการป้อนข้อมูลและประ มวลผลโดยอัตโนมัติ เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการเดินทางและเลี้ยงรับรอง
3) Investment Management • การสนับสนุนของ IT เกี่ยวกับ Investment Management ในพื้นที่หลักๆได้แก่ • ก) เข้าถึงรายงานต่างๆ ทางด้านบัญชีและเศรษฐศาสตร์ โดยผ่านทางเครื่องมือหลัก ๆสามตัวได้แก่ • Internet search engineเพื่อใช้หาข้อมูลเกี่ยวกับบัญชีของบริษัทหนึ่งๆ • Internet directories และ yellow pages ใช้ค้นหารายละเอียดข้อมูลทางการค้า • Software สำหรับ monitor, interpreting และ analyzing financial data • ข) การวิเคราะห์ทางด้านการเงิน (Financial analysis) • Financial Value Chain Management (FVCM)เป็นการรวม Financial Analysis กับ Operation Analysis เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อทำให้การควบคุมทางด้านการเงิน ทำได้ดีขึ้น
4) Control and auditing • ตัวอย่างของการควบคุมทางบัญชี ได้แก่ • ก) การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) • ข) การควบคุมค่าใช้จ่าย (Budgetary control) • ค) การตรวจสอบ (Auditing) • ง) การวิเคราะห์อัตราส่วนด้านบัญชี (Financial ratio analysis) • จ) การวิเคราะห์ผลกำไรและการควบคุมต้นทุน (Profitability analysis and cost control) • ฉ) การบริหารค่าใช้จ่ายโดยอัตโนมัติ (Expense Management Automation, EMA) อ่านเพิ่มเติมใน A Close Look 7.1 “Expense and Spend Management Automation” หน้า 282
7.6 Managing Human Resources Systems • ปัจจุบันนี้ กระบวนการของ HR แบบดั้งเดิมกำลังเปลี่ยนเป็น E-HR ดังตารางที่ 6.4 ในหน้าที่ 277 IT สามารถเข้าช่วยในกระบวนการอื่นๆ ได้หลายกระบวนการ ตัวอย่าง 3 ด้านด้วยกัน คือ • 1) Recruitment เป็นการหาผู้สมัครงาน ทำการทดสอบและสัมภาษณ์ เมื่อพึงพอใจจึง ทำการว่าจ้าง IT สามารถเข้ามาช่วยได้หลายทาง เช่น • ก) การใช้ web สำหรับการว่าจ้างพนักงาน • ข) HRM portals และ salary surveys. • ค) Employee Selection
Intelligent personnel selection model Responsible for the workforce