1 / 23

การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก

การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก acute diarrhea ที่พบเม็ดเลือดขาวใน stool examination. นสพ. มนต์ธวัช อำนวยพล นสพ. วีระวรรณ์ รัตนพิบูลย์ นสพ. อภิชาติ ชุมทอง. หลักการและเหตุผล. -Acute infectious diarrhea. -WBC ใน Stool examination. -การรักษาโดยantibiotic.

porter
Download Presentation

การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก acute diarrhea ที่พบเม็ดเลือดขาวใน stool examination นสพ. มนต์ธวัช อำนวยพล นสพ. วีระวรรณ์ รัตนพิบูลย์ นสพ. อภิชาติ ชุมทอง

  2. หลักการและเหตุผล -Acute infectious diarrhea -WBC ใน Stool examination -การรักษาโดยantibiotic -ไม่พบเชื้อใน Stool culture

  3. วัตถุประสงค์ • 1. เพื่อศึกษาการพบ WBC ใน Stoolexamination และ pathogenic bacteria ใน Stool culture ในเด็กที่เป็น Acute diarrhea • 2. เพื่อศึกษา การพบWBCใน Stool culture กับ Invasive bacteria • 3. เพื่อต้องการทราบชนิดของ pathogenic bacteria ที่สามารถ Culture ได้และ Sensitivity ของเชื้อ • 4. เพื่อศึกษาการให้antibioticก่อน และหลังทราบผล Stool culture

  4. STUDY DESIGN RETROSPECTIVE DESCRIPTIVE AND ANALYTICAL STUDY

  5. TARGET POPULATION - Inclusion criteria:ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัย Acute diarrhea ในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 2 รพ พุทธชินราชอายุระหว่าง 1 เดือน - 15ปี ระหว่าง วันที่ 1 มกราคม 2542 - 31 ธันวาคม 2542 - Exclusion criteria : ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา หรือใช้ผล Stool culture และ Stool examination จากโรงพยาบาลอื่น Immunocompromise host ซึ่งได้แก่ HIV infection, Clinical malignancy disease, และ Thalassemia ส่ง Stool culture และ Stool examination ห่างกันเกิน 1 วัน ให้antibioticก่อนส่ง Stool culture และ Stool examination

  6. แผนภูมิที่ 1 แสดงขั้นตอนการเก็บตัวอย่าง มีผล stool culture 718 ราย ค้นผล stool examination ไม่มีข้อมูลหรือส่ง stool culture และ examination ห่างกันเกิน 1 วัน 477 ราย มีข้อมูล 241 ราย ค้น Medical record ไม่พบ 31 ราย พบ 210 ราย คัดออก 19 ราย เนื่องจาก Immunocompromise 6ราย และไม่ใช้ผู้ป่วย diarrhea 13 ราย ได้ตัวอย่าง 191 ราย

  7. อุปกรณ์ แบบฟอร์มการกรอกข้อมูล STATISTICAL ANALYSIS ความถี่ร้อยละ Chi-square

  8. ผลการเก็บข้อมูล

  9. - ผล Stoolexamination พบWBC 32 ราย (16.75%) - ผล Stool culture พบ pathogenic bacteria 35 ราย(18.32%) - ความสัมพันธ์ที่จำนวน WBC ตั้งแต่ 2 เซลล์ขึ้นไป - WBC ตั้งแต่ 4-5 เซลล์ขึ้นไปมีความไวและความจำเพาะสูงที่สุด

  10. ความสัมพันธ์, ความไว และความจำเพาะในกลุ่มตัวอย่าง

  11. - เฉพาะเชื้อที่เป็น Invasive bacteria ได้แก่ Shigella spp.,Salmonella spp. - คัดเชื้อที่เป็น Non-invasive bacteria ออกซึ่งได้แก่ EPEC - เป็นจำนวน 9 ราย (4.71%) - พบความสัมพันธ์ที่จำนวน WBC ตั้งแต่ 4-5 เซลล์ขึ้นไป - WBC ตั้งแต่ 8-10 เซลล์ขึ้นไปมีความไวและความจำเพาะสูงที่สุด

  12. เฉพาะ Invasive bacteria

  13. แสดงสัดส่วนของเชื้อแต่ละชนิดแสดงสัดส่วนของเชื้อแต่ละชนิด

  14. ตารางที่ 3 แสดงจำนวนของเชื้อแต่ละชนิด และ Antibiotic ที่ Susceptible ตั้งแต่ 80% ขึ้นไป Pathogen จำนวน % Sensitivity EPEC polyvalence 1 46 35.38 AN,GM,CRO,CL EPEC polyvalence 2 27 20.77 AN,GM,CRO,CL EPEC polyvalence 3 19 14.62 AN,GM,CRO,CAZ Salmonella B 13 10.00 NX

  15. Salmonella E 5 3.85 AM,SXT Salmonella D 4 3.08 NX Salmonella C 4 3.08 AM,SXT V. parahae. 3 2.31 SXT,NX,C,TE EPEC spp. 3 2.31 AN,GM,CRO,CL P. shigelloides 3 2.31 AM,SXT Vibrio cholerae 2 1.54 SXT,NX Shigella D 1 0.77 AM,NX

  16. 4. การศึกษาว่าการให้antibioticก่อน และหลังทราบผล Stool culture

  17. ผู้ป่วย 35 ราย แสดงการให้ยาปฏิชีวนะ ได้รับ 18 ไม่ได้รับ 17 ก่อนทราบผล Stool culture Susceptible 13 ราย(72%) ไม่ได้ทดสอบ 5 ราย Discharge ก่อน 9 ราย(69%) หลังทราบผล stool culture Susceptible 3 ราย(75%) ไม่ได้ทดสอบ 1 ราย

  18. สรุปผลข้อมูล

  19. 1. จำนวน WBC ตั้งแต่ 4-5 เซลล์ขึ้นไปเป็นจุดตัดที่ดีที่สุดในการทำนายผล Stool culture ที่ Sensitivity 26% และ Specificity 92% 2. ตั้งแต่ 8-10 เซลล์ขึ้นไปในกรณีของ Invasive bacteria ที่ Sensitivity 33% และ Specificity 94% 3. โดยเชื้อที่ culture ได้มากที่สุดคือ EPEC

  20. 4. และผลการทดสอบ Sensitivity ตามตารางที่ 3 5. การให้antibioticก่อนทราบผล Stool culture18 รายเหมาะสมกับsensitivity13 ราย (72%) และได้รับantibioticหลังทราบผล Stool culture 4รายเหมาะสมกับ Sensitivity 3 ราย (75%)

  21. สรุปและวิจารณ์ผลการวิจัยสรุปและวิจารณ์ผลการวิจัย การนำไปใช้ -การพิจารณาส่ง Stool culture -การพิจารณาให้ antibiotic ข้อจำกัด -การบันทึกข้อมูลที่ไม่ชัดเจน -ใช้ได้เพียงบนหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 2 เพียงที่เดียว -ห้องปฏิบัติการมิได้ทดสอบ sensitivity ของยาบางตัว -มีผู้ป่วย 9 ใน 13 ราย (69%)ถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ก่อนที่จะทราบผล Stool culture -ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น acute diarrhea มักจะมีอาการของ URI ร่วมด้วย

  22. ข้อเสนอแนะ -ศึกษาวิจัยต่อแบบ Prospective study เพื่อประเมินประสิทธิภาพ สามารถขยายกลุ่มตัวอย่างให้ใหญ่ขึ้นจากการส่ง Stool examination เพิ่มขึ้น และขยายไปยังแผนกอื่นๆ -ควรมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการรักษา และทดสอบ Sensitivity ให้ตรงกันเพื่อประโยชน์ต่อการรักษาผู้ป่วย -ควรมีการทดสอบว่ายาที่ใช้ใน URI ตรงกับ Sensitivity ของเชื้อใน Stool culture หรือไม่

  23. กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ -เจ้าหน้าที่ห้อง Stool examination -เจ้าหน้าที่ห้อง Stool culture -เจ้าหน้าที่ห้องเก็บเวชระเบียนผู้ป่วยใน -เจ้าหน้าที่พยาบาลแผนกกุมารเวชกรรม 2

More Related