1 / 19

2402-2013 รายวิชา ขนมไทย

หนังสือเรียน. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาคหกรรม. 2402-2013. วิชา ขนมไทย. นริศรา ชูรา และดุษฎี น้อยใจบุญ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2402-2013 รายวิชา ขนมไทย. หลักการและเหตุผล.

Download Presentation

2402-2013 รายวิชา ขนมไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หนังสือเรียน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาคหกรรม 2402-2013 วิชา ขนมไทย นริศรา ชูรา และดุษฎี น้อยใจบุญสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 2402-2013 รายวิชา ขนมไทย

  2. หลักการและเหตุผล การศึกษาถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยพัฒนาบุคคลให้มีลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะช่วยสร้างและพัฒนาประเทศชาติ การจัดการศึกษาจึงต้องพัฒนาความคิดแก่ผู้เรียนให้เขาใช้ กำลังปัญญาเป็นอาวุธ วิชาขนมไทยเป็นอีกวิชาที่มุ่งมั่น ตั้งใจอนุรักษ์วัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย และส่งเสริม พัฒนาองค์ความรู้ให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมในยุคปัจจุบัน

  3. วิชา ขนมไทย (2402-2013) จุดประสงค์รายวิชา 1. มีความเข้าใจการเลือก การใช้วัตถุดิบอุปกรณ์วิธีการและเทคนิคการทำ ขนมไทยการบรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย 2. มีความสามารถในการเตรียมวัตถุดิบเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ในการทำขนมไทย 3. มีความสามารถในการทำขนมไทย จัดตกแต่ง บรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย 4. มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีต รอบคอบ และ มีความรับผิดชอบ

  4. มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจการเลือกวัตถุดิบและอุปกรณ์วิธีการและ เทคนิค การทำขนมไทยการบรรจุภัณฑ์และการ จัดจำหน่าย 2. เลือกใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ในการทำขนมไทย 3. เตรียมวัตถุดิบในการทำขนมไทย 4. ทำขนมไทย จัดตกแต่งบรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย

  5. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การเลือก การใช้วัตถุดิบในการทำขนมไทย ประเภทของขนมไทยการเลือกใช้อุปกรณ์ในการทำขนมไทยวิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยบรรจุภัณฑ์และจัดจำหน่าย

  6. วิชาขนมไทย แบ่งเนื้อหาบทเรียนออกเป็น 7 บท บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขนมไทย บทที่ 2 วัตถุดิบในการทำขนมไทย บทที่ 3 อุปกรณ์การทำขนมไทย บทที่ 4 ประเภทขนมไทย บทที่ 5 บรรจุภัณฑ์ขนมไทย บทที่ 6 การคิดต้นทุนและการจัดจำหน่าย บทที่ 7 วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทย

  7. บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขนมไทย • จุดประสงค์ • ความเป็นมาของขนมไทย • ท้าวทองกีบม้า “ราชินีขนมไทย” • คุณสมบัติของผู้ประกอบขนมไทย • ศัพท์น่ารู้ที่ใช้ในงานขนมไทย • มาตราการ ชั่ง ตวง • สรุป • แบบฝึกหัด

  8. บทที่ 2วัตถุดิบในการทำขนมไทย • จุดประสงค์ • ประเภทของวัตถุดิบ • เครื่องปรุงรส • สี • กลิ่น • สรุป • แบบฝึกหัด

  9. บทที่ 3 อุปกรณ์การทำขนมไทย • จุดประสงค์ • อุปกรณ์การชั่ง ตวง • อุปกรณ์การเตรียม • อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบ • เครื่องมือหรือพิมพ์ต่างๆ • สรุป • แบบฝึกหัด

  10. บทที่ 4 ประเภทของขนมไทย • จุดประสงค์ • ขนมไทยแบ่งตามวัตถุดิบ • ขนมไทยแบ่งตามกรรมวิธีการหุงต้ม • สรุป • แบบฝึกหัด

  11. บทที่ 5 บรรจุภัณฑ์ขนมไทย • จุดประสงค์ • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ • ประเภทของบรรจุภัณฑ์ • การออกแบบบรรจุภัณฑ์ขนมไทย • การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ขนมไทย • สรุป • แบบฝึกหัด

  12. บทที่ 6 การคิดต้นทุนและการจัดจำหน่าย

  13. บทที่ 7 วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทย • จุดประสงค์ • วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยจากแป้ง • วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยจากข้าว • วิธีการและเทคนิคการทำขนมไทยจากไข่ • สรุป • แบบฝึกหัด

  14. ประโยชน์ที่ได้รับ

  15. ผู้เรียน • เอกสารเข้าใจง่ายสามรถศึกษาด้วยตนเองได้ - ตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาไทย - เป็นแนวทางใช้ประกอบอาชีพ

  16. ผู้สอน - ลดเวลาในการเตรียมการสอน - สอนได้ครอบคลุมเนื้อหาและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ - ทำให้การจัดการเรียนการสอนสัมฤทธิ์ผล ผู้เรียนนำไปประกอบอาชีพได้

  17. ผู้บริหาร • สร้างภาพลักษณ์แห่งคุณภาพการอาชีวศึกษา • สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษา

  18. สถาบันการศึกษา • สร้างภาพลักษณ์แห่งคุณภาพการอาชีวศึกษา - เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการผลิตและพัฒนากำลังคนให้สามารถสร้างผลผลิตที่เป็นมาตรฐานแข่งขันได้ - สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพการเป็น ผู้ประกอบการให้กับนักเรียนอาชีวศึกษา

  19. ขอขอบพระคุณแหล่งอ้างอิงและผู้สนับสนุนทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้

More Related