1 / 25

อวยพร เรืองศรี ส่วนส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 4 เมษายน 2556

การประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพฯ ระดับสำนักวิชา. เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2555. อวยพร เรืองศรี ส่วนส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 4 เมษายน 2556. ประเด็นการประชุม. ประเด็นแจ้งที่ประชุมทราบ :. ปฏิทินการดำเนินงาน QA ปีการศึกษา 2555

patia
Download Presentation

อวยพร เรืองศรี ส่วนส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 4 เมษายน 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพฯ ระดับสำนักวิชา เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2555 อวยพร เรืองศรี ส่วนส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 4 เมษายน 2556

  2. ประเด็นการประชุม ประเด็นแจ้งที่ประชุมทราบ: • ปฏิทินการดำเนินงาน QA ปีการศึกษา 2555 • การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555 • แนวทางในการนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) ไปใช้ใน IQA • แนวปฏิบัติการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ของ สกอ. • รูปแบบ SAR ปีการศึกษา 2555 ประเด็นเพื่อพิจารณา: • การกำหนดเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ QA ปีการศึกษา 2555

  3. สาระสำคัญของการประกันคุณภาพ ตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ

  4. ควบคุม การดำเนินงาน ตามมาตรฐานคุณภาพ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนดำเนินงาน ตรวจสอบ และประเมิน ตามองค์ประกอบคุณภาพ รายงานสรุป ข้อมูลป้อนกลับเพื่อการพัฒนา/ปรับปรุง รายงาน ผลการตรวจประเมิน ตรวจ และ ประเมิน โดย สมศ. การติดตาม ทุก 5 ปี การประกันคุณภาพภายใน VS ภายนอก ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก ข้อมูลป้อนกลับสถาบัน เพื่อการพัฒนา ข้อมูลรายงานภาครัฐ

  5. ปฏิทินกิจกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีการศึกษา 2555

  6. * หมายเหตุ อาจมีการปรับเปลี่ยนวันตามที่คณะกรรมการฯ กำหนดเพื่อให้เกิดความเหมาะสม

  7. การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555 องค์ประกอบ/คุณสมบัติผู้ประเมิน:

  8. การแบ่งสายการตรวจเยี่ยม (เฉพาะระดับสำนักวิชา):

  9. แนวทางการนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) ไปใช้ใน IQA หลักการ: • นโยบายของ สกอ. ที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาที่มีความเข้มแข็ง โดยเฉพาะสถาบันหรือคณะที่มีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับดีมาก หรือมีผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามได้มาตรฐานในระดับดีมาก ให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อไปสู่ความเป็นเลิศ โดยให้มีการนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence:EdPEx) ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่ยอมรับในระดับสากลไปใช้เป็นทางเลือกหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการบริหารการจัดการศึกษา อย่างก้าวกระโดดเทียบได้ในระดับสากล • คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาในการประชุมครั้งที่ 3/55 เมื่อวันที่ 15 ต.ค. 55 มีมติเห็นชอบแนวทางในการนำเกณฑ์ EdPEx มาใช้ใน IQA เพื่อเป็นทางเลือกให้สถาบันอุดมศึกษาที่มีความพร้อมตามเกณฑ์ที่กำหนด ได้นำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ไปใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารองค์การเพื่อการพัฒนาที่ก้าวกระโดดต่อไป

  10. แนวปฏิบัติการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ของ สกอ. หลักการ: • เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ข้อ 36 ดังนี้ • “หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปี และแจ้งให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน” • คณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2556 มีมติเห็นชอบแนวปฏิบัติการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และจัดทำประกาศ เมื่อวันที่ 28 ม.ค. 2556 และแจ้งให้สถาบันอุดมศึกษาทราบ (ตามหนังสือที่ศธ 0506(3)/ว37 ลว 28 ก.พ.56)

  11. วัตถุประสงค์: • เพื่อติดตามผลการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่เกี่ยวข้อง • เพื่อติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา • เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการเร่งรัดพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ • เพื่อจัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและแจ้งผลให้สถาบันอุดมศึกษาทราบ ตลอดจนเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบต่อสาธารณชน

  12. คัดเลือกสถาบัน/คณะที่มีผลการประเมินคุณภาพภายในของสถาบัน/คณะวิชา ปีการศึกษา 2554 และ 2555 องค์ประกอบที่ 2 ด้านการผลิตบัณฑิต และองค์ประกอบที่ 4 ด้านการวิจัย อยู่ในระดับดีขึ้นไป (ตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป) หมายเหตุ 1. สำหรับคณะที่ไม่มีบัณฑิตศึกษาให้ใช้ผลการประเมินด้านการวิจัยระดับพอใช้ (ตั้งแต่ 3.01 ขึ้นไป) 2. ทั้งนี้ผลการประเมินอภิมานต้องไม่ปรากฏข้อบ่งชี้ที่ผิดปกติ 1. ใช้ CHE QA Online วิธีการติดตามตรวจสอบ: การคัดเลือกสถาบัน/คณะเพื่อเข้าติดตาม/ตรวจสอบ 2.1 คัดเลือกสถาบัน/คณะที่มีผลการประเมินในปีการศึกษา 2554 หรือ 2555 ตามระบบ CHEQA Online ได้ค่าคะแนนน้อยกว่าที่กำหนดในข้อ 1. 2.2 คัดเลือกสถาบัน/คณะที่แม้ว่าผลการประเมินในปีการศึกษา 2554 ได้คะแนนตามข้อ 1. แต่การประเมินอภิมานปรากฏข้อบ่งชี้ที่ผิดปกติ ที่น่าจะทำให้ผลการประเมินที่แท้จริงมีค่าน้อยกว่าที่กำหนดข้างต้น 2. เข้าตรวจเยี่ยมในพื้นที่ 3.1 คัดเลือกสถาบัน/คณะวิชามีผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2554 น้อยกว่า 3.01 และ/หรือ องค์ประกอบที่ 4 ด้านการวิจัย มีค่าน้อยกว่า 2.51 ---- เข้าปีงบประมาณ 56 3.2 คัดเลือกสถาบัน/คณะที่มีลักษณะตามข้อ 2.1 และ 2.2 ที่ยังไม่ได้เข้าติดตามตรวจสอบในปีงบประมาณ 2556 เพื่อเข้าติดตามตรวจสอบในปีงบประมาณ 2557 3. เรียงลำดับความเร่งด่วนในการเข้าตรวจเยี่ยมในพื้นที่

  13. รูปแบบ SAR ปีการศึกษา 2555 องค์ประกอบของเนื้อหา: • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร • ส่วนที่ 1 โครงร่างองค์กร • ส่วนที่ 2 ผลการดำเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน • ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมิน จุดแข็ง จุดอ่อน และแนวทางเสริมเพื่อการพัฒนา • ภาคผนวก

  14. ตัวบ่งชี้เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555 หมายเหตุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และสำนักวิชาต่างๆ ใช้เกณฑ์การประเมินในบางตัวบ่งชี้เป็นไปตามจุดเน้นในกลุ่ม ค. สถาบันเฉพาะทาง ลักษณะที่ 2 เน้นระดับปริญญาตรี (ยกเว้นสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ที่เป็นไปตามจุดเน้นในกลุ่ม ค ลักษณะที่ 1 เน้นระดับบัณฑิตศึกษา)

  15. ตัวบ่งชี้เฉพาะ ของมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ 1. ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่เข้าใหม่ต่อจำนวนนักศึกษาที่ประกาศรับ 2. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ในระดับม.ปลายของนักศึกษาที่รับเข้าใหม่ (เฉลี่ยทุกคน) 3. ร้อยละของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาตามเวลาปกติ (ของผู้ที่เข้าศึกษาในรุ่นนั้น) 4. ร้อยละของนักศึกษาที่สูญเสียต่อรุ่น (พ้นสภาพจากผลการเรียน) 5. ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่สอบใบประกอบวิชาชีพผ่านในครั้งแรก ต่อจำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด 6. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของนักศึกษาทุกคนที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้นๆ 7. ตัวบ่งชี้ความเป็นสากล (รายงานในระดับมหาวิทยาลัย

  16. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบ TOF: • อาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผนติดตาม และทบทวนการดำเนินงานของหลักสูตร • มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิ/สาขาวิชา (ถ้ามี) • มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา • จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา • จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังปีการศึกษา • มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา

  17. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานตามกรอบ TOF: • 7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว • 8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน • อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี • ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 • ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5

  18. Thank You

More Related