1 / 77

กฎหมายในความรับผิดชอบ

ก ารประชุม Video Conference ระหว่าง สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ครั้งที่ 1/2556 วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ระหว่างเวลา 09.00 – 12.00 น.

Download Presentation

กฎหมายในความรับผิดชอบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุม Video Conferenceระหว่างสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดครั้งที่ 1/2556วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556ระหว่างเวลา 09.00 – 12.00 น.

  2. กฎหมายในความรับผิดชอบกฎหมายในความรับผิดชอบ • พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ซึ่งปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 • พระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556

  3. ประเด็นการประชุมชี้แจงและปรึกษาหารือประเด็นการประชุมชี้แจงและปรึกษาหารือ • งานนโยบายและแผน • งานทะเบียนและประสานงาน • งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • งานเลขานุการคณะกรรมการ • งานรับรองมาตรฐาน • งานพระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์

  4. งานนโยบายและแผน • การจัดสรรงบประมาณให้จังหวัด ปี 2556 • การจัดทำยุทธศาสตร์สวัสดิการสังคมไทย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2559) • การจัดทำแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2559) • การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี 2556 ตามแผนการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด

  5. การประชุมองค์กรสาธารณประโยชน์ นักสังคมสงเคราะห์ และอาสาสมัคร (10,000 บาท/จังหวัด) การประชุมคณะ กรรมการและอนุกรรมการ (130,000 บาท/จังหวัด) งบประมาณ ที่จัดสรรให้จังหวัด ปี 2556 (160,000 บาท/จังหวัด) การจัดงานวันสังคม สงเคราะห์แห่งชาติและวันอาสาสมัครไทย (10,000 บาท/จังหวัด) การประชุมสมัชชาสวัสดิการสังคมจังหวัด (10,000 บาท/จังหวัด)

  6. เป้าหมาย

  7. นำไปสู่การปฏิบัติ นำไปสู่การปฏิบัติ หมายเหตุ : แผนยุทธศาสตร์สวัสดิการไทย ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2555-2559) และแผนปฏิบัติการตามแผน ยุทธศาสตร์ฯ สามารถดูได้ใน www.m-society.go.th/mos.social

  8. สรุปข้อมูลการจัดส่งแผนยุทธศาสตร์สรุปข้อมูลการจัดส่งแผนยุทธศาสตร์ การจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด (พ.ศ. 2555-2559) (8 จังหวัด) (39 จังหวัด) (30 จังหวัด) หมายเหตุ : - จำนวน 77 จังหวัด - ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2556

  9. งานทะเบียนและประสานงานงานทะเบียนและประสานงาน • การรับรององค์กรสาธารณประโยชน์ • การรับรององค์กรสวัสดิการชุมชน • การรายงานผลการปฏิบัติงาน • การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการรับรององค์กรภาคเอกชนเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์และการรับรององค์กรภาคประชาชนเป็นองค์กรสวัสดิการชุมชน • การจัดทำทะเบียนโปรแกรม Back Office พรบ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • Website และfacebookสำนักงาน ก.ส.ค. • ภารกิจงานอาเซียนในความรับผิดชอบ

  10. สรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์ภาพรวมสรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์ภาพรวม ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 รวม 3,654 องค์กร

  11. สรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์แยกตามภาคสรุปข้อมูลองค์กรสาธารณประโยชน์แยกตามภาค ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 รวม 3,654 องค์กร

  12. สรุปจำนวนองค์กรสวัสดิการชุมชนสรุปจำนวนองค์กรสวัสดิการชุมชน ข้อมูล 15 กุมภาพันธ์ 2556 จำนวน 3,593 องค์กร

  13. ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

  14. ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

  15. ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

  16. ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

  17. ข้อมูล ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556

  18. ขั้นตอนการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ และองค์กรสวัสดิการชุมชน ขั้นตอนการปฏิบัติ มูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรภาคเอกชน ยื่นคำขอรับรองต่อสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร หรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ด้วยตนเองหรือส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ กรณีองค์กรภาคประชาชนให้ยื่นผ่าน อบต./เทศบาลหรือเขต ก่อนส่ง พมจ./สำนักพัฒนาสังคม กทม. (หาก อปท. เขต ไม่ให้ความเห็นภายใน 30 วัน ให้ยื่นที่ พมจ. สำนักพัฒนาสังคม กทม. ได้เลย) ขั้นตอนที่ 1 สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร หรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารหลักฐาน ขั้นตอนที่ 2

  19. การรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์(ต่อ)การรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์(ต่อ) ขั้นตอนการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์(ต่อ) การปฏิบัติ เสนอต่อคณะอนุกรรมการรับรององค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรสวัสดิการชุมชนกรุงเทพมหานคร หรือคณะอนุกรรมการรับรองฯ จังหวัด ถ้าไม่ได้รับการรับรองให้สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร หรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดแจ้งให้มูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรภาคเอกชน /องค์กรภาคประชาชนทราบ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ส่งให้สำนักงาน ก.ส.ค. ออกใบสำคัญแสดงการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ /องค์กรสวัสดิการชุมชน

  20. การประกอบกิจการเพื่อสังคมการประกอบกิจการเพื่อสังคม • กรณีองค์กรสาธารณประโยชน์ที่มีการประกอบกิจการเพื่อสังคม คือ มีการประกอบธุรกิจแต่ไม่ได้เอากำไรมาแบ่งปันกัน แต่เอามาใช้ในกิจการเพื่อสาธารณประโยชน์ขององค์กรสามารถขอรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ได้ (ตามข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการยื่นคำขอและการรับรองเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2555)

  21. การรายงานผลการปฏิบัติงานขององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชนการรายงานผลการปฏิบัติงานขององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชน ตามระเบียบสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติว่าด้วยการกำกับ ดูแล ตรวจสอบการดำเนินงาน หลักเกณฑ์และวิธีการรายงานการใช้จ่ายเงินขององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชน พ.ศ. 2555 กำหนดให้องค์กรสาธารณประโยชน์รายงานผลการปฏิบัติงาน โดยในท้องที่กรุงเทพมหานครให้ส่งรายงานต่อสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานครในเขตท้องที่อื่นให้ส่งรายงานต่อสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดท้องที่นั้น ภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นเดือนมีนาคมและสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี

  22. ปัญหาที่เกิดขึ้น • บางจังหวัดยังมีการรับรององค์กรสาธารณประโยชน์และองค์กรสวัสดิการชุมชนจำนวนน้อยมาก • บางจังหวัดไม่มีการไปตรวจสอบว่าองค์กรที่ขอรับรองมีการปฏิบัติงานจริงหรือไม่ และไม่รู้จักที่ตั้งขององค์การ • บางองค์กรไม่ได้รับการรับรอง เนื่องจากขัดแย้งกับพื้นที่ คณะอนุกรรมการรับรององค์กรเข้มงวดจนเกินไป • กองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลไม่ยอมมารับการรับรองตามกฎหมาย • บางองค์กรเป็นองค์กรกระดาษ ตั้งมาเพื่อหวังประโยชน์ เช่น หวังขอเงินกองทุนแต่เมื่อไม่ได้ก็ไม่ทำอะไร • บางองค์กรใช้ที่ตั้งสำนักงานอยู่ที่หน่วยงานของรัฐ ได้แก่ อบต. เทศบาล สำนักงาน พมจ. ทำให้บางครั้งไม่สามารถติดต่อองค์กรโดยตรงได้

  23. การจัดทำทะเบียนตาม กฎหมายส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม

  24. บทบาทหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติบทบาทหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ มาตรา 15 (9) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ได้กำหนดให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ มีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำทะเบียนกลางเกี่ยวกับองค์การสวัสดิการสังคม นักสังคมสงเคราะห์ อาสาสมัคร และผู้รับบริการสวัสดิการสังคม

  25. บทบาทหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดบทบาทหน้าที่ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มาตรา 20 (8) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ได้กำหนดให้สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมีอำนาจหน้าที่ในการจัดทำทะเบียนเกี่ยวกับองค์การสวัสดิการสังคม นักสังคมสงเคราะห์ อาสาสมัคร และผู้รับบริการสวัสดิการสังคม

  26. ปี ๒๕๕๖ เปิดโอกาสให้องค์กรสาธารณประโยชน์และ องค์กรสวัสดิการชุมชน เข้าระบบ back office ป้อนข้อมูลได้ด้วยตนเอง (อยู่ระหว่างให้องค์กรเสนอรายชื่อผู้มีสิทธิใช้ระบบเพื่อให้รหัสผ่าน)

  27. Website และ Facebookสำนักงาน ก.ส.ค.

  28. Website สำนักงาน ก.ส.ค.www.m-society.go.th/msosocial.php

  29. Facebookสำนักงาน ก.ส.ค.http://www.facebook.com/SWsocialwelfare

  30. ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับ ASEAN • การประชุม GO-NGO Forumประชุมทุกปีก่อนการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส/รัฐมนตรีสวัสดิการสังคมและการพัฒนาอาเซียน • การดำเนินงานภาคีความร่วมมือระหว่างผู้ปฏิบัติงาน นักการศึกษา สถาบันการศึกษาด้านสังคมสงเคราะห์ในอาเซียน (ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ จะมีการเชิญประชุมภาส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวในปีนี้

  31. อื่น ๆ • การจัดงานวันสังคมสงเคราะห์แห่งชาติและวันอาสาสมัครไทย • การจัดงานวันสังคมสงเคราะห์โลก

  32. กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ระบบปกติ สนับสนุนโครงการทั่วไปของ องค์การสวัสดิการสังคม ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ สนับสนุนโครงการขององค์การ สวัสดิการสังคมที่ตอบสนอง ภาพรวมของประเทศ ระบบกระจายกองทุนสู่ภูมิภาค และท้องถิ่น สนับสนุนโครงการขององค์การ สวัสดิการสังคมที่ตอบสนอง ภาพรวมของจังหวัดทุก จว. สนับสนุนโครงการขององค์การ สวัสดิการสังคมที่ตอบสนอง พื้นที่ อบต./เทศบาล ทุกแห่ง

  33. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมในความรับผิดชอบของสำนักงาน ก.ส.ค. (กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมอยู่ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองบริหารกองทุน สป.พม. ดูแลกองทุนในระบบปกติ สำนักงาน ก.ส.ค. ดูแลระบบกระจายกองทุนสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น)

  34. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • การกระจายเงินกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น ปี ๒๕๕๖ • การจัดสรรเงินกองทุนฯปี ๒๕๕๖ • ๑. กลุ่มจังหวัดขนาดใหญ่ (๑๒ จังหวัด) ให้การสนับสนุนเงินแก่องค์การสวัสดิการสังคมเพื่อจัดทำโครงการเชิงประเด็น และโครงการเชิงพื้นที่ จังหวัดละ จำนวน ๙๐๐,๐๐๐ บาท งบบริหารจัดการ ๑๖๐,๐๐๐ บาท • ๒. กลุ่มจังหวัดขนาดกลาง (๒๓ จังหวัด) ให้การสนับสนุนเงินแก่องค์การสวัสดิการสังคมเพื่อจัดทำโครงการเชิงประเด็น และโครงการเชิงพื้นที่ จังหวัดละ จำนวน ๗๐๐,๐๐๐ บาท งบบริหารจัดการ ๑๕๐,๐๐๐ บาท

  35. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • ๓. กลุ่มจังหวัดขนาดเล็ก (๔๒ จังหวัด) ให้การสนับสนุนเงินแก่องค์การสวัสดิการสังคมเพื่อจัดทำโครงการเชิงประเด็น และโครงการเชิงพื้นที่ จังหวัดละ จำนวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท งบบริหารจัดการ ๑๔๐,๐๐๐ บาท • ระยะเวลาการเบิกจ่ายเงินกองทุนฯและการพิจารณาโครงการ ขอให้จังหวัดเร่งดำเนินการพิจารณาโครงการเชิงประเด็นและโครงการเชิงพื้นที่ และเบิกจ่ายเงินกองทุนให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม ๒๕๕๖

  36. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • การรายงานความคืบหน้าการเบิกจ่ายเงินกองทุน ขอให้รายงานผลการใช้จ่ายเงินที่สนับสนุนโครงการเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ รวมทั้งงบบริหารจัดการ ให้กองบริหารกองทุนทราบทุกเดือน เพื่อทราบความคืบหน้าในการเบิกจ่ายเงิน การพิจารณาสนับสนุนเงินกองทุนให้แก่องค์การสวัสดิการสังคม - การพิจารณาโครงการ ควรให้การสนับสนุนเงินกองทุนไม่เกินกว่างบประมาณของค่าใช้จ่ายโครงการและงบประมาณที่องค์การขอสนับสนุนเงินเพื่อจัดทำโครงการ

  37. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - กรณีโครงการเชิงพื้นที่ องค์กรที่สามารถขอรับสนับสนุนเงินกองทุนได้ ประกอบด้วยองค์กรสาธารณประโยชน์ องค์กรสวัสดิการชุมชน หน่วยงานรัฐ และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น • - องค์การที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุน ก่อนดำเนินโครงการ จังหวัดควรชี้แจงรายละเอียดระเบียบที่เกี่ยวข้อง เช่น ระยะเวลาการรายงานผลโครงการ การขยายระยะเวลา การคืนเงินในกรณีต่าง ๆ ด้วย เป็นต้น

  38. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • การรายงานผลการปฏิบัติงานทางเอกสารและทาง back office • - การปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา ระบบฐานข้อมูล จะดำเนินการเสร็จในเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ • - ขอความร่วมมือจังหวัดมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนปฏิบัติหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลโครงการที่ได้รับเงินกองทุน ปี ๒๕๕๖ • และส่งชื่อผู้บันทึกข้อมูลให้ ก.ส.ค. ภายในวันที่ ๗ มีนาคม

  39. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - การเตรียมความพร้อมให้เจ้าหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลปี ๒๕๕๖ จะจัดอบรมภายในเดือนเมษายน โดยผ่านระบบประชุมทางไกลออนไลน์ (Web Conference) การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด

  40. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - การออกคำสั่งเพื่อตั้งคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด ตามคำสั่งคณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ที่ ๒/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด นั้น เนื่องจากในคำสั่งดังกล่าวได้ให้อำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดในการแต่งตั้งอนุกรรมการ ตามข้อ ๑.๒ – ข้อ ๑.๑๑ การออกคำสั่งจึงต้องออกเป็นคำสั่งจังหวัด โดยอาศัยอำนาจผู้ว่าราชการจังหวัดลงนาม

  41. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • -เจ้าหน้าที่ของจังหวัดที่ พมจ.มอบหมาย มีฐานะเป็นผู้ช่วยเลขานุการเท่านั้น มิได้เป็นอนุกรรมการ • - เบี้ยประชุมอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • ส่วนกลางได้โอนไปให้จำนวน ๖๑,๐๐๐ บาท และค่าใช้จ่ายในการจัดประชุม จำนวน ๒,๕๐๐ บาท

  42. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • แผนการประชุมอนุกรรมการ เขียนโครงการ และถอดบทเรียน • - ต้นเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ สำนักงาน ก.ส.ค.จะจัดประชุมเชิงปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับการเขียนและวิเคราะห์โครงการแก่เจ้าหน้าที่จังหวัด และพัฒนาศักยภาพอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม รวมทั้งบุคคลที่จะให้คำแนะนำการเขียนโครงการแก่องค์การสวัสดิการสังคมในพื้นที่

  43. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • - การคัดเลือกโครงการระดับประเทศและถอดบทเรียน สำนักงาน ก.ส.ค.จะดำเนินการในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖ • คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติได้มีคำสั่งที่ ๑/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เรื่อง การแต่งตั้งกรรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม

  44. งานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมงานกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม • -การติดตามประเมินผลโครงการ • ขอให้ดำเนินการติดตามผลโครงการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งโครงการมีด้วยกัน ๒ ประเภท คือ โครงการระยะสั้น และโครงการระยะยาว

  45. คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ (ก.ส.ค.) คณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด คณะกรรมการติดตามประเมินผล กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม คณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการบริหารกองทุน ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม คณะอนุกรรมการรับรอง องค์กรสาธารณประโยชน์และ องค์กรสวัสดิการชุมชน ๗๖ คณะ* คณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการฯ คณะทำงานจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ ๕ ปีฯ คณะอนุกรรมการส่งเสริมการจัด สวัสดิการสังคมด้านผู้สูงอายุ ๗๕ จังหวัด คณะอนุกรรมการบริหาร กองทุนฯ จังหวัด/กทม. ๗๖ คณะ* คณะทำงานจัดทำ แผนสวัสดิการถ้วนหน้า ปี ๒๕๖๐ คณะอนุกรรมการสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ คณะอนุกรรมการนโยบายและแผน คณะอนุกรรมการคัดเลือกอาสาสมัครดีเด่น และองค์การที่มีกิจกรรมทางสังคมดีเด่น คณะทำงานกลั่นกรองอาสาสมัคร และองค์การที่มีกิจกรรม ทางสังคมดีเด่น คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ คณะทำงานพัฒนา คุณภาพชีวิต ๑๐ กลุ่มเป้าหมาย และเพิ่มเติม 3 กลุ่มเป้าหมาย คณะอนุกรรมการส่งเสริมบทบาท นักสังคมสงเคราะห์ คณะทำงานภาคีความร่วมมือ ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน นักการศึกษา และสถาบันการศึกษาด้าน สังคมสงเคราะห์ของประเทศไทย คณะอนุกรรมการประสานงานและ ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม คณะทำงานส่งเสริม อาสาสมัคร คณะอนุกรรมการส่งเสริม องค์กรสวัสดิการชุมชน คณะอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ การส่งเสริมธุรกิจเพื่อสังคม คณะทำงานส่งเสริม องค์กรสวัสดิการชุมชน คณะอนุกรรมการพัฒนาบุคลากรและ มาตรฐาน คณะทำงานส่งเสริม ภาคธุรกิจเพื่อสังคม คณะอนุกรรมการส่งเสริมอาสาสมัคร คณะอนุฯ กำหนด เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐาน คณะอนุฯ สร้างเครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน หมายเหตุ *ได้รับมอบอำนาจจาก คณะกรรมการให้ทำหน้าที่แทน

  46. งานเลขานุการคณะกรรมการงานเลขานุการคณะกรรมการ • การคัดเลือกกันเองและการแต่งตั้งเป็นกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ/จังหวัด (การเลือกกันเองเป็นกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัดขอให้ยึดตามระเบียบ พม. ว่าด้วยการเลือกกันเอง การทำคำสั่งแต่งตั้งให้ทำเป็นคำสั่งจังหวัด) • การเบิกจ่ายค่าเบี้ยประชุม ค่าเดินทาง (อาศัยตามพระราชกฤษฎีกาการเบิกจ่ายเบี้ยประชุม สถานะของกรรมการ ประธานอนุกรรมการเทียบเท่าข้าราชการระดับ ๑๐ อนุกรรมการ เทียบเท่าระดับ ๘ ค่าเดินทางเบี้ยเลี้ยงตามระเบียบราชการ) • การแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการ (กรณีผู้ช่วยเลขานุการ หากไม่ระบุจำนวน จะตั้งจำนวนเท่าใดก็ได้ แต่เบิกเบี้ยประชุมได้ไม่เกิน ๒ คน กรณีตั้งเป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการจะตั้งกี่คนก็ได้เบิกได้หมด)

  47. งานเลขานุการคณะกรรมการงานเลขานุการคณะกรรมการ • การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ ตั้งได้ตามความจำเป็น มีข้อจำกัดเบี้ยประชุม ไม่ควรตั้งหลายคณะ แต่หากมีหลายคณะไม่ควรตั้งอนุกรรมการจำนวนมาก • การดำเนินงานคณะอนุกรรมการสวัสดิการผู้สูงอายุจังหวัด เป็นงานฝากของ สท. ให้ตรวจสอบคำสั่งแต่งตั้งและรายงานการดำเนินงานด้วย • การรายงานผลการดำเนินงาน สำนักงาน ก.ส.ค. จะให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินงานปีละ ๒ ครั้ง • อื่น ๆ

More Related