1.99k likes | 2.19k Views
เอกสารประกอบการบรรยาย ตำแหน่ง ชำนาญการ เชี่ยวชาญ. เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการพิเศษ 9 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ sathien@swu.ac.th. เวียน 4 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2526 บังคับใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2526
E N D
เอกสารประกอบการบรรยาย ตำแหน่ง ชำนาญการ เชี่ยวชาญ เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการพิเศษ 9 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ sathien@swu.ac.th.
เวียน 4 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2526 บังคับใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2526 กำหนดตำแหน่งสาย ข เป็นระดับปฏิบัติการวิชาชีพ - อนุปริญญา - ปริญญาตรี - ปริญญาโท - ปริญญาเอก กำหนดตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญพิเศษเป็นระดับ 10
เวียน 7 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2526 บังคับใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2526 กำหนดตำแหน่งสาย ค เป็นระดับปฏิบัติการ มีวุฒิตั้งแต่ ปวช. ถึงปริญญาเอก กำหนดตำแหน่งระดับชำนาญการพิเศษเป็นระดับ 9 แต่ยังไม่ได้กำหนดให้เป็นระดับ 10
ผู้ชำนาญการ - ผู้เชี่ยวชาญ สาย ข ผู้ชำนาญการ ระดับ 6 ผู้ชำนาญการ ระดับ 7 - 8 ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10
ชำนาญการ - ชำนาญการพิเศษ สาย ค ผู้ชำนาญการ ระดับ 6 ผู้ชำนาญการ ระดับ 7 - 8 ผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 ผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 10
ชำนาญ หมายถึง ตำแหน่งเฉพาะตัวของข้าราชการ สาย ข สาย ค ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีปริมาณงานในหน้าที่ มีคุณภาพของงานในหน้าที่ มีผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานที่ ก.ม.กำหนดเป็นผู้ชำนาญการ ระดับ 6, 7 - 8
ชำนาญการพิเศษหมายถึง ตำแหน่งเฉพาะตัวของข้าราชการ สาย ค. ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีปริมาณงานในหน้าที่ มีคุณภาพของ งานในหน้าที่ มีผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ มีการใช้วิชาชีพ บริการต่อสังคม อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ ก.ม. กำหนดเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 และถ้ามีความเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ หรือความเป็นที่ยอมรับ นับถือในวงวิชาชีพนั้น ๆ ก.ม.กำหนดเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 10
เชี่ยวชาญหมายถึง ตำแหน่งเฉพาะตัวของข้าราชการ สาย ข. ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มีปริมาณงานในหน้าที่ คุณภาพของงาน ในหน้าที่ มีผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ มีการใช้วิชาชีพบริการต่อ สังคม อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ที่ ก.ม. กำหนดเป็นผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 และถ้ามีความเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ หรือความเป็นที่ยอมรับ นับถือในวงวิชาชีพนั้น ๆ ก.ม.กำหนดเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10
ปี พ.ศ.2534 ตามเวียน 7 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2534 ก.ม.กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
โดย ก.ม. กระจายอำนาจให้ อ.ก.ม. พิจารณาแต่งตั้ง ตำแหน่ง ระดับ ผู้ชำนาญการ 6,7-8 และผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ชำนาญการพิเศษ 9 ได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2534 (แต่งยังไม่ได้กำหนดกรอบให้ว่าจะมีตำแหน่งใด ระดับใด เท่าไร)
ปี พ.ศ.2529 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2529 มีการปรับปรุงแบบฟอร์มใหม่ โดยให้ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้น หมายเลข 1 และผู้บังคับบัญชา หมายเลข 2 เสนอความเห็น ดังนี้ 1. งานในหน้าที่ความรับผิดชอบ/-ผลงานในสาขาวิชาชีพ 2. ความจำเป็นของหน่วยงาน
ปี พ.ศ.2536 ประมาณ 10 ปี จากปี 2526 ก.ม.อนุมัติ กรอบ ระดับ ผู้ชำนาญการ 6,7-8 (นักวิจัย/บรรณารักษ์/ นักเอกสารสนเทศ/ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา/ นักวิชาการศึกษา/ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน) ให้เฉพาะ สาย ข กับทุกมหาวิทยาลัย/สถาบัน
ปี พ.ศ.2537 ก.ม.อนุมัติกรอบชำนาญการ 6,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ 9 และผู้ชำนาญการพิเศษ 9 ให้กับทุกมหาวิทยาลัยและสถาบัน
เวียน 2 ลงวันที่ 15 มกราคม 2542 ก.ม.กระจายอำนาจ ให้ อ.ก.ม.พิจารณากำหนดกรอบ ตำแหน่ง ระดับ ชำนาญการ 6,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ชำนาญการ พิเศษ 9 ได้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542
หลักเกณฑ์และวิธีการ กำหนดความจำเป็นให้เหมาะสม สอดคล้องกับ ความจำเป็น ตามลักษณะของหน่วยงาน พิจารณา 2 องค์ประกอบ (1) ภารกิจหลักของหน่วยงาน (2) หน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะงาน ของตำแหน่ง
ภารกิจหลักของหน่วยงาน(ปริมาณ/ผลงาน)ภารกิจหลักของหน่วยงาน(ปริมาณ/ผลงาน) มีบทบาทและภารกิจอย่างไร มีลักษณะของผลิตภัณฑ์หรือบริการกลุ่มลูกค้า และมีขอบเขตอย่างไรหน่วยงานนั้น ปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย ในการสร้างและพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งความรู้ใหม่ และความรู้ที่ใช้ในการแก้ปัญหาให้แก่สังคม ถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่นักศึกษา วิจัย ให้บริการทางวิชาการอย่างไร เป็นหน่วยปฏิบัติการกลาง ทำหน้าที่ปฏิบัติการเพื่อการวิจัยและหรือเพื่อการเรียน การสอน หรือไม่อย่างไร
ภารกิจหลักของหน่วยงาน(ปริมาณ/ผลงาน) ต่อ 1.เป้าหมาย 2. ผลผลิต 3. ผลลัพธ์ 4.ยุทธศาสตร์ 5.วิธีการดำเนินงาน 6. ระบบการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7.โครงสร้างการบริหาร การดำเนินการ กลไกการกำกับดูแล
ภารกิจหลักของหน่วยงาน(ปริมาณ/ผลงาน) ต่อ 8. กรอบในการประเมินประสิทธิภาพการทำงานของงหน่วย งาน 9. แผนในการปฏิบัติงาน 9.1 Strategic Plane (ยาว) 9.2 Project Plane (กลาง) 9.3 Operation Plane (สั้น)
ตำแหน่งชำนาญการ 6,7-8 กำหนดให้มีได้ 1. ภารกิจของหน่วยงานสนับสนุนอำนวยการ คือ สำนักงานอธิการบดี 2. ภารกิจของหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอน คือ คณะ สำนัก สถาบัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะงานของตำแหน่ง ตำแหน่งที่ปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน กองการเจ้าหน้าที่ ต.ที่ปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก คือ เจ้าหน้าที่บุคคล กองคลัง ต.ที่ปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก คือ นักวิชาการเงินและบัญชี กองแผนงาน ต.ที่ปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก คือ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน กองกิจการนิสิต ต.ที่ปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก คือ นักกิจการ นักศึกษา/นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ กองกลาง ต.ที่ปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก คือ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
หลักการกำหนดตำแหน่ง 1. ระดับ ชำนาญการ 6 ชำนาญการ 7-8 จะไม่มีการกำหนดจำนวน 2. ระดับชำนาญการพิเศษ 9 เชี่ยวชาญ 9 มีการกำหนดจำนวน ตามภารกิจความจำเป็นของหน่วยงาน (สำนักงานอธิการบดี - กอง/ฝ่าย) (คณะ สำนัก ศูนย์ - ฝ่าย /กลุ่มงาน/งาน)
ลักษณะงานที่จำเป็นต้องมี ชำนาญการ 6,7-8 ต้องพิจารณาจากลักษณะงานว่าจำเป็นต้องมีผู้ปฏิบัติที่มีความรู้ ความสามารถ ความชำนาญ ทักษะหรือประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน เฉพาะทางนั้น โดยต้องใช้และหรือประยุกต์ หลักการ เหตุผล แนวคิด วิธีการ เพื่อการปฏิบัติงานและหรือเพื่อการพัฒนางานในหน้าที่ และ งานเฉพาะทางและหรือแก้ไขปัญหาวิชาการหรือวิชาชีพที่มีความยุ่งยาก และมีขอบเขตกว้างขวาง ซึ่งเป็นงานที่ต้องการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ หรือวิจัย
ลักษณะงานที่จำเป็นต้องมี ชช./ช.พิเศษ 9 ลักษณะงานนั้นต้องมีผู้ที่มีความรู้ทฤษฎี หลักวิชา หรือหลักการเกี่ยวกับงานเฉพาะด้าน และมีผลงานเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในวงวิชาการด้านนั้น ได้แก่ งานเชิงพัฒนา ระบบ หรือมาตรฐานของงาน งานพัฒนาทฤษฎี หลักการ ความรู้ใหม่ ซึ่งต้องมีการวิจัย เกี่ยวกับงานเฉพาะด้าน และนำมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ โดยต้องประยุกต์ทฤษฎี แนวคิดใหม่เกี่ยวกับเนื้อหาของวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาวิชาการหรือวิชาชีพ เพื่อแก้ไข ปัญหาวิชาการหรือวิชาชีพที่มีความยุ่งยาก และมีขอบเขตกว้างขวางมาก และหรือเพื่อ ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาชีพ ตลอดจนให้คำปรึกษา แนะนำแก่บุคคล และหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหรือเพื่อปรับปรุง ผสมผสานเทคนิคระดับสูง ระหว่างสาขาที่ เกี่ยวข้อง
ตาราง 1รายละเอียดที่ ก.ม.อนุมัติให้มีความจำเป็นตามลักษณะของหน่วยงานที่มีตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ หรือชำนาญการพิเศษ ในมหาวิทยาลัย หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) สำนักงานอธิการบดี - - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชำนาญการพิเศษ - เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการ พิเศษ - นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการพิเศษ
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) - - เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย และแผนเชี่ยวชาญ - นักวิชาการศึกษาเชี่ยวชาญ - นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ เชี่ยวชาญ - นักกิจการนักศึกษาเชี่ยวชาญ
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) หน่วยตรวจสอบภายใน - เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน ชำนาญการ กองกลาง - เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชำนาญการ (เฉพาะงานประชุม และพิธีการ)
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) กองการเจ้าหน้าที่ - เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการ - นิติกรชำนาญการ กองคลัง - นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ - นักวิชาการพัสดุชำนาญการ
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) กองแผนงาน - เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย และแผนชำนาญการ - วิศวกรชำนาญการ - สถาปนิกชำนาญการ กองวิเทศสัมพันธ์ - เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ ชำนาญการ
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) กองบริการการศึกษา - นักวิชาการศึกษาชำนาญการ กองกิจการนิสิต - นักกิจการนักศึกษาชำนาญการ - นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ชำนาญการ
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) กองธุรการประจำ - กำหนดให้มีตำแหน่งชำนาญการ วิทยาเขต/สำนักงาน ได้ในลักษณะเดียวกับกอง เลขานุการคณะ ในสำนักงานอธิการบดี แต่จะมี (หรือหน่วยงาน เพิ่มตำแหน่งนักวิชาการ เทียบเท่า) โสตทัศนศึกษาชำนาญการ
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) สำนักหอสมุด/ - บรรณารักษ์ชำนาญการ - บรรณารักษ์เชี่ยวชาญ สำนักวิทยบริการ - นักวิชาการโสตทัศนศึกษา ชำนาญการ - นักเอกสารสนเทศชำนาญการ สถาบันวิจัย - นักวิจัยชำนาญการ ไม่ระบุจำนวน
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) - สำนักคอมพิวเตอร์ - เจ้าหน้าที่ระบบงาน คอมพิวเตอร์ชำนาญการ - พนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ ชำนาญการ - นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) หน่วยงานอื่น - นักจิตวิทยา - ช่างภาพการแพทย์ กำหนดเป็นชำนาญการพิเศษ - นักสังคมสงเคราะห์ หรือเชี่ยวชาญ ระดับ 9 - นักวิทยาศาสตร์ - นักวิชาการสถิติ - นักเวชศาสตร์สถิติ
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) - นักวิชาการเกษตร - นักวิชาการประมง กำหนดเป็นชำนาญการพิเศษ - นักนักวิชาการสัตวบาล หรือเชี่ยวชาญ ระดับ 9 - นายแพทย์ - ทันตแพทย์ - สัตวแพทย์
ตาราง 1 (ต่อ) หน่วยงาน ตำแหน่งชำนาญการ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ/ชำนาญการ พิเศษ ระดับ 9 (จำนวน 1 ตำแหน่ง) - พยาบาล - เภสัชกร กำหนดเป็นชำนาญการพิเศษ - นักวิทยาศาสตร์แพทย์ หรือเชี่ยวชาญ ระดับ 9 - นักเทคนิคการแพทย์ - นักโภชนาการ - นักอาชีวบำบัด - นักกายภาพบำบัด
ตามหนังสือ ที่ ทม 0202/ว.2 ลงวันที่ 15 มกราคม 2542 ก.ม.มอบอำนาจให้ อ.ก.ม.กำหนดความจำเป็นให้มี แหน่งผู้ชำนาญการ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญ ในหน่วยงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 อ.ก.ม.มหาวิทยาลัย/สถาบันมีการกำหนดกรอบดังกล่าวไปแล้ว หรือไม่อย่างไร ผลจากการศึกษาข้อมูลเปรียบเทียบ (ดังตาราง 1)
ตาราง 1 เปรียบเทียบการกำหนดกรอบตำแหน่งผู้ชำนาญการ 6,7-8 ผู้ชำนาญการพิเศษ และผู้เชี่ยวชาญ 9 เพิ่มใหม่ ที่ มหาวิทยาลัย/สถาบัน ไม่ได้กำหนด กำหนดเพิ่มใหม่ 1 เกษตรศาสตร์ - / 2 แม่โจ้ / - 3 ทักษิณ / - 4 นเรศวร / - 5 บูรพา - / 6 มหาสารคาม - / 7 มหิดล - / 8 รามคำแหง - / 9 ศรีนครินทรวิโรฒ / - 10 สงขลานครินทร์ - / 11 สุโขทัยธรรมาธิราช - / 12 อุบลราชธานี - / 13 บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - / 14 พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / -
สิ่งที่ส่งมาด้วย (4) เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา บัญชีรายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ยังมิได้มีมติอนุมัติกำหนดให้มีตำแหน่งผู้ชำนาญการ ระดับ 6,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ยังมิได้มีมติอนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่งผู้ชำนาญการ รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ยังมิได้มีมติ อนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 เจ้าหน้าที่ธุรการ พนักงานธุรการ เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่พัสด พนักงานพัสดุ นักประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี พนักงานการเงินและบัญชี นิติกร เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ พนักงานประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน เจ้าหน้าที่โสตทัศนศึกษา พนักงานห้องสมุด นักวิชาการช่างศิลป์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนักงานโภชนาการ วิศวกร เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ช่างทันตกรรม สถาปนิก เจ้าหน้าที่ประมง นักสุขศึกษา เจ้าหน้าที่โภชนาการ นักวิชาการพัสดุ(ยกเว้น มสธ.) เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ผู้ช่วยพยาบาล ช่างภาพ เจ้าหน้าที่พิมพ์
สิ่งที่ส่งมาด้วย (2) เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา บัญชีรายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติอนุมัติกำหนดให้มีตำแหน่งผู้ชำนาญการ ระดับ 6,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติอนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่งผู้ชำนาญการ รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติ อนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 เจ้าหน้าที่การเกษตร พนักงานการเกษตร ทุกสายงาน ยกเว้น เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่สัตวบาล พนักงานสัตวบาล กลุ่มสายงานบริหาร ได้แก่ เจ้าหน้าที่บุคคล เจ้าหน้าที่อาชีวบำบัด พนักงานอาชีวบำบัด เจ้าหน้าที่บริหารงานสถิติ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่เวชสถิคิ พนักงานเวชสถิติ เจ้าหน้าที่บริหารงานพัสดุ นักวิชาการเงินและบัญชี เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค พนักงานรังสีเทคนิค เจ้าหน้าที่บริหารงานการเกษตร นักกิจการนักศึกษา เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ พนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ เจ้าหน้าที่บริหารงานประชาสัมพันธ์ นักแนะแนวการศึกษาและอาชีพ เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ พนักงานวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่บริหารงานเวชสถิติ นักวิชาการศึกษา เจ้าหน้าที่สถิติ พนักงานสถิติ เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง นักเอกสารสนเทศ ช่างอิเล็กทรอนิกส์ นายช่างอิเล็กทรอนิกส์ เจ้าหน้าที่บริหารงานโสตทัศนศึกษา นักจิตวิทยา ช่างเทคนิค นายช่างเทคนิค เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงิน ช่างภาพการแพทย์ ช่างเขียนแบบ นายช่างเขียนแบบ และบัญชี บรรณารักษ์ ช่างเครื่องยนต์ นายช่างเครื่องยนต์ นักสังคมสงเคราะห์ ช่างไฟฟ้านายช่างไฟฟ้า นักวิทยาศาสตร์
สิ่งที่ส่งมาด้วย (2) เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา บัญชีรายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติอนุมัติกำหนดให้มีตำแหน่งผู้ชำนาญการ ระดับ 6,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติอนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่งผู้ชำนาญการ รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติ อนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 ผู้ช่วยทันตแพทย์ ทันตานามัย นักวิชาการสถิติ ผู้ช่วยเภสัชกร พนักงานประมง นักเวชสถิติ ช่างกายอุปกรณ์ พนักงานโสตทัศนศึกษา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ช่างศิลป์ นายช่างศิลป์ นักวิชาการเกษตร นายช่างภาพ นักวิชาการประมง ช่างพิมพ์ นักวิชาการสัตวบาล ครู นายแพทย์ พนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันตแพทย์ สัตวแพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์
สิ่งที่ส่งมาด้วย (2) เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา บัญชีรายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติอนุมัติกำหนดให้มีตำแหน่งผู้ชำนาญการ ระดับ 6,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติอนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่งผู้ชำนาญการ รายชื่อตำแหน่งที่ ก.ม.ได้มีมติ อนุมัติกำหนดให้เป็นตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 และผู้ชำนาญการพิเศษ ระดับ 9 นักรังสีการแพทย์ นักโภชนาการ นักอาชีวบำบัด นักกายภาพบำบัด นักวิจัย เจ้าหน้าที่วิจัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
สรุป การขอกำหนดกรอบ ผู้ชำนาญการ 6,7-8 ผู้เชี่ยวชาญ 9 ผู้ชำนาญการพิเศษ 9 1. หนังสือเวียน 7 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2534 (ก.ม.กำหนดหลักเกณฑ์) 2. หนังสือเวียน 2 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม 2538 (กำหนดกรอบนักวิจัยเป็น 10) 3. หนังสือเวียน 2 ลงวันที่ 15 มกราคม 2542 (ก.ม.มอบอำนาจและกำหนดกรอบ)
คุณสมบัติ แยกเป็น 3 กรณี คือ 1. วุฒิ 2. ขั้นเงินเดือน 3. ระดับ 1. วุฒิ ต่ำกว่า อ.น.ป. 16 ปี อ.น.ป. 12 ปี ป.ตรี 9 ปี ป.โท 5 ปี ป.เอก 2 ปี
สูตร คำนวณเวลา ต.อ.น.ป. + อ.น.ป + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก= 1 16 12 9 5 2 หมายเหตุ 1. ไม่มีวุฒิใดตัดออก 2. ถ้าคำนวณเป็นวันหรือเดือนต้องเปลี่ยนตัวหารที่เป็นปี ให้เป็นวันหรือเดือนด้วย 3. วุฒิสุดท้ายไม่ทราบว่าต้องทำงานถึงเมื่อไร สมมุติเป็นค่า X
ตัวอย่าง การคำนวณ ป.ตรี + X= 1 9 ปี 5 ปี (5) ป.ตรี + 9X = 1 45 9X = 45 - (5) ป.ตรี X คือเวลาทำงานใช้วุฒิ ป.โท = 45 - (5) ป.ตรี 9
6 + X = 1 9 5 30 x 9X = 1 45 9X = 45 - 30 X = 15 = 1.66 ปี 9
ขั้นเงินเดือนและระดับ ช.6 =ระดับ 5 ขั้น 10,080 บาท 11,460 บาท ปัจจุบัน 10,600 บาท 12,000 บาท ช.7 = ระดับ 6 ขั้น 12,400 บาท 14,100 บาท ปัจจุบัน 13,040 บาท 14,750 บาท ชช.9/ช.9 =ระดับ 8 ขั้น 18,720 บาท 19,290 บาท ปัจจุบัน 19,680 บาท 20,280 บาท หมายเหตุ ระดับ 8 จะเลื่อนไปได้เลย เมื่อขั้นเงินเดือน ถึงขั้นต่ำของระดับ 8 คือ 16,800 บาท 17,310 บาท
ข้อสังเกต คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 1. เวลาการลาศึกษา ฝึกอบรม ต้องหักออกไม่นับ และ อยู่ระหว่างการลาศึกษา ฝึกอบรม ยื่นขอไม่ได้ 2. วุฒิการศึกษา แต่ละวุฒินำมานับรวมกันได้
3. การนับระยะเวลาเป็นคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง กรณีเปลี่ยนตำแหน่ง 3.1 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ต่อมาได้โอนหรือเปลี่ยน ตำแหน่งใหม่ ไม่อาจนับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งเดิม เป็นคุณสมบัติเฉพาะ เพื่อขอเป็นชำนาญการได้ ยกเว้น หากมีลักษณะงานสอดคล้องกับตำแหน่งใหม่ อาจนับ ระยะเวลาในตำแหน่งเดิมได้ แต่ต้องเสนอ ก.ม. เป็นราย ๆ ไป
3.2 สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 หรือระดับ 2 ต่อมา เปลี่ยนเป็นสายงานที่เริ่มจากระดับ 3 ให้นับระยะเวลา ในตำแหน่งเดิมได้ แต่ลักษณะงานต้องอยู่ในกลุ่มงาน เดียวกันกับตำแหน่งใหม่ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง ที่ ก.ม. กำหนด