1 / 70

เอกสารประกอบการบรรยาย 14.45-16.00 น. แนวทางในการควบคุมและประเมินผลทางกลยุทธ์

เอกสารประกอบการบรรยาย 14.45-16.00 น. แนวทางในการควบคุมและประเมินผลทางกลยุทธ์. การฝึกอบรม เรื่องการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning) สำหรับบุคลากรของเขตการศึกษาภูเก็ต 23 มีนาคม 2550. การประเมินโครงการ. สาระสำคัญ. ความหมาย

Olivia
Download Presentation

เอกสารประกอบการบรรยาย 14.45-16.00 น. แนวทางในการควบคุมและประเมินผลทางกลยุทธ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการบรรยาย 14.45-16.00น. แนวทางในการควบคุมและประเมินผลทางกลยุทธ์ การฝึกอบรม เรื่องการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning) สำหรับบุคลากรของเขตการศึกษาภูเก็ต 23 มีนาคม 2550

  2. การประเมินโครงการ

  3. สาระสำคัญ • ความหมาย • ประเภทของการประเมิน • รูปแบบ • โมเดลการประเมิน • การวิเคราะห์ระบบ • การเขียนโครงการประเมิน • ขั้นตอนการประเมินโครงการ • การออกแบบการประเมิน • การเขียนรายงานการประเมิน

  4. ความหมายของการประเมินโครงการความหมายของการประเมินโครงการ การประเมินโครงการหมายถึงกิจกรรมการรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ความหมายข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับความต้องการการหาแนวทางวิธีการปรับปรุงวิธีการจัดการเกี่ยวกับการดำเนินงานและหาผลที่แน่ใจว่าเกิดจากโครงการเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น (นิศาชูโต. 2527:9)

  5. ประเภทของการประเมินโครงการประเภทของการประเมินโครงการ จากวัตถุประสงค์ในการประเมินโครงการทำให้แบ่งประเภทของการประเมินผลโครงการได้ 3 ประเภท (รัตนะบัวสนธ์ .2540 : 21) ได้แก่ การประเมินผลโครงการก่อนดำเนินงานหรือการประเมินผลก่อนการดำเนินโครงการ การประเมินผลโครงการขณะดำเนินงานหรือการประเมินผลขณะดำเนินโครงการ การประเมินผลโครงการภายหลังสิ้นสุดการดำเนินงานหรือการประเมินผลภายหลังสิ้นสุดในโครงการ

  6. รูปแบบการประเมินโครงการรูปแบบการประเมินโครงการ หมายถึงกรอบแนวคิดเค้าโครงหรือร่างในการประเมินโครงการซึ่งแสดงให้เห็นถึงภาพรวมทั้งหมดเกี่ยวกับการประเมินโครงการรูปแบบของการประเมินโครงการในปัจจุบันเกือบทั้งหมดเป็นรูปแบบที่มีจุดเริ่มต้นมาจากการประเมินทางการศึกษาซึ่งต่อมาได้มีผู้นำมาประยุกต์ใช้โดยแบ่งรูปแบบการประเมินผลโครงการออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 3 กลุ่มคือ (สุวิมลติรกานันท์.2544:39)

  7. รูปแบบการประเมินโครงการรูปแบบการประเมินโครงการ Objective Based Modelในกลุ่มนี้มุ่งให้ความสนใจเปรียบเทียบผลที่ได้รับกับวัตถุประสงค์นักวิชาการในกลุ่มนี้ได้แก่ไทเลอร์และครอนบาช Judgemental Evaluation Modelในกลุ่มนี้มุ่งให้ความสนใจกับการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ถูกประเมินนักวิชาการในกลุ่มนี้ได้แก่สเต็กสคริฟเวนและโพรวัส Decision-oriented Evaluation Modelในกลุ่มนี้มุ่งผลิตสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจนักวิชาการในกลุ่มนี้ได้แก่สตัฟเฟิลบีมและอัลคิน

  8. รูปแบบการประเมินของอัลคิน (Alkin) อัลคินกล่าวว่าการประเมินเป็นกระบวนการจัดหาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อที่จะนำไปใช้ตัดสินใจดังนั้นในการประเมินจำเป็นจะต้องดำเนินการในเรื่องต่างๆ 5 ด้านคือการประเมินระบบ (System assesment) การประเมินการวางแผนโครงการ (Program planning) การประเมินการปฏิบัติตามโครงการ (Program Implementation) การประเมินเพื่อการปรับปรุง (Program Improvement) และการประเมินเพื่อยอมรับโครงการ ( Program Confirmation)

  9. รูปแบบของการประเมินของครอนบาช (Cronbach) ครอนบาชเสนอว่าในการประเมินจะต้องประกอบด้วยกระบวนวิธีการประเมินในด้านต่างๆ 4 ด้านคือการติดตามผลการวัดเจตคติการวัดความสามารถทั่วๆไปและการศึกษากระบวนการ

  10. รูปแบบการประเมินของโพรวัส (Provas) เป็นกระบวนการของการเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงกับมาตรฐานที่กำหนดขึ้นมาซึ่งมาตรฐานเหล่านั้นจะถูกกำหนดขึ้นทุกขั้นตอนของการประเมินและมีการพิจารณาดูว่ามีความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับมาตรฐานเพียงใดและนำข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงการดำเนินงานซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนที่สำคัญ 5 ขั้นตอนคือการบรรยายโครงการการประเมินการดำเนินงานของโครงการการประเมินกระบวนการของโครงการการประเมินผลผลิตของโครงการและการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลกำไร

  11. รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) สตัฟเฟิลบีมได้พัฒนารูปแบบการประเมินนี้ขึ้นในปีค.ศ. 1971 โดยมีแนวคิดในการสร้างสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจแบ่งการประเมินออกเป็น 4 ประเด็นตามประเภทของการตัดสินใจและการนำไปใช้ประโยชน์ดังนี้การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม(Context Evaluation) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น(Input Evaluation) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation)

  12. รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation) เป็นการประเมินก่อนที่จะลงมือดำเนินการในโครงการใดๆเพื่อนำข้อมูลไปกำหนดหลักการและเหตุผลรวมทั้งพิจารณาความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการดังกล่าวการชี้ประเด็นปัญหาตลอดจนพิจารณาความเหมาะสมของโครงการ

  13. รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น(Input Evaluation) เป็นการพิจารณาความเหมาะสมความพอเพียงของทรัพยากรในการดำเนินโครงการตลอดจนเทคโนโลยีและแผนของการดำเนินงาน

  14. รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อหาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจที่จะสั่งการเพื่อพัฒนางานต่างๆและบันทึกภาวะของเหตุการณ์ต่างๆรายงานความก้าวหน้าของโครงการ

  15. รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นจากการทำโครงการกับเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้แต่ต้นเพื่อนำข้อมูลไปใช้ตัดสินการบรรลุความสำเร็จของโครงการ

  16. การประเมินรูปแบบซิปนั้นเป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลในด้านต่างๆสำหรับประกอบการตัดสินใจคือการประเมินด้านสภาวะแวดล้อมเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการวางแผนประเมินปัจจัยเบื้องต้นเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกำหนดโครงสร้างโครงการประเมินกระบวนการเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการนำโครงการไปปฏิบัติและประเมินผลลัพธ์เพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจว่าควรดำเนินการโครงการต่อไปหรือล้มเลิกซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินกับการตัดสินใจดังกล่าวการประเมินรูปแบบซิปนั้นเป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูลในด้านต่างๆสำหรับประกอบการตัดสินใจคือการประเมินด้านสภาวะแวดล้อมเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการวางแผนประเมินปัจจัยเบื้องต้นเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกำหนดโครงสร้างโครงการประเมินกระบวนการเพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการนำโครงการไปปฏิบัติและประเมินผลลัพธ์เพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจว่าควรดำเนินการโครงการต่อไปหรือล้มเลิกซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินกับการตัดสินใจดังกล่าว

  17. ภาพที่ 1 แสดงแผนภูมิประเภทการประเมินและการตัดสินใจในแบบจำลองซิป ประเภทของการประเมิน ประเภทของการตัดสินใจ ประเมินสภาวะแวดล้อม เพื่อการวางแผน เพื่อกำหนดโครงสร้าง ประเมินปัจจัยเบื้องต้น ประเมินกระบวนการ เพื่อนำโครงการไปปฏิบัติ เพื่อทบทวนโครงการ ประเมินผลผลิต

  18. โมเดลการประเมินของสเตก(Stake’s Concepts and Model of Evaluation) สเตกได้สร้างรูปแบบจำลองทางความคิดเกี่ยวกับการประเมินขึ้นเรียกว่าโมเดลเคาน์ทิแนนซ์ (Stake’s Countenance Model) เป็นการประเมินใน 3 ประเด็นหลักคือปัจจัยเบื้องต้นการปฏิบัติและผลลัพธ์โดยแบ่งวิธีการเป็น 2 เมตริกซ์ประกอบด้วยเมตริกซ์การบรรยายและเมตริกซ์การตัดสินคุณค่า

  19. ภาพที่ 2 แผนภูมิการประเมินของสเตก ความคาดหวัง (Intent) สิ่งที่เกิดขึ้นจริง (Observation) มาตรฐาน (Standard) การตัดสินใจ (Judgement) หลักการ (Rational) สิ่งนำหรือปัจจัยเบื้องต้น (Antecedents) การปฏิบัติ (Transactions) ผลผลิต (Outcome)

  20. การวิเคราะห์ระบบ ( System Approach) แนวคิดการวิเคราะห์ระบบเป็นการนำเอาระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาประยุกต์ใช้โดยทำการประเมินใน 3 ส่วนได้แก่ปัจจัยนำเข้ากระบวนการและผลผลิต

  21. การวิเคราะห์ระบบ ( System Approach) ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต

  22. รูปแบบการประเมินโครงการที่กล่าวมาในแต่ละรูปแบบมีจุดเด่นจุดด้อยและประโยชน์แตกต่างกันไปซึ่งต้องนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมเพื่อใช้ในการประเมินให้ได้ผลดีที่สุด รูปแบบการประเมินโครงการที่กล่าวมาในแต่ละรูปแบบมีจุดเด่นจุดด้อยและประโยชน์แตกต่างกันไปซึ่งต้องนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมเพื่อใช้ในการประเมินให้ได้ผลดีที่สุด

  23. กล่าวโดยสรุปการประเมินผลโครงการกล่าวโดยสรุปการประเมินผลโครงการ หมายถึงการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของโครงการต่างๆทั้งในระหว่างที่โครงการกำลังดำเนินอยู่หรือเมื่อโครงการได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วโดยอาจมีการนำเอาระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์หรือสังคมศาสตร์มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการประมาณการหรือประเมินค่าหรือคุณค่าของโครงการหรือความเป็นไปได้ของโครงการเพื่อการตัดสินใจอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของโครงการ

  24. การเขียนโครงการการประเมินการเขียนโครงการการประเมิน

  25. การประเมินโครงการ การประเมินโครงการมีแนวความคิดที่สำคัญ องค์ประกอบของการประเมิน ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลาของการประเมิน

  26. การเขียนโครงการการประเมินประกอบด้วยส่วนต่างๆ 8 ส่วน 1. ชื่อโครงการประเมิน 2. หลักการและเหตุผล 3. วัตถุประสงค์ของการประเมิน

  27. การเขียนโครงการการประเมินประกอบด้วยส่วนต่างๆ 8 ส่วน 4. วิธีดำเนินการประเมิน -ประชากร -กลุ่มตัวอย่าง -รูปแบบการประเมิน -เครื่องมือในการประเมิน -การเก็บรวบรวมข้อมูล -การวิเคราะห์ข้อมูล

  28. 5. เกณฑ์ในการประเมิน 6. ผู้รับผิดชอบโครงการประเมิน 7. ระยะเวลาในการประเมิน 8. ทรัพยากรที่ใช้ในการประเมิน

  29. ขั้นตอนการประเมินโครงการ 6 ขั้นตอน

  30. ขั้นที่ 1 วิเคราะห์โครงการ 1.บรรยายโครงการเพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับโครงการ 2.ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบของโครงการเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ ขั้นตอนการประเมินโครงการ

  31. ขั้นที่ 2 กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน 1) กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน 2) กำหนดคำถามหลักและคำถามรองสำหรับวัตถุประสงค์ของการประเมินแต่ละข้อ ขั้นตอนการประเมินโครงการ

  32. ขั้นที่ 3 กำหนดวิธีการประเมิน 1) ระบุตัวแปรแนวทางการวัดและเครื่องมือที่ใช้สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล 2)กำหนดเกณฑ์ที่ใช้สำหรับการตัดสินใจ ขั้นตอนการประเมินโครงการ

  33. ขั้นที่ 4 เก็บรวบรวมข้อมูล 1)สร้างเครื่องมือ 2) นำเครื่องมือไปเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนการประเมินโครงการ

  34. ขั้นที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูล 1) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ 2) ตัดสินคุณค่าตามเกณฑ์ของ แต่ละวัตถุประสงค์ ขั้นตอนการประเมินโครงการ

  35. ขั้นที่ 6 จัดทำรายงานผลการประเมิน 1)จัดทำรายงานเสนอผู้บริหาร 2) นำผลที่ผ่านการพิจารณาเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ขั้นตอนการประเมินโครงการ

  36. ช่วงเวลาที่ทำการประเมินโครงการช่วงเวลาที่ทำการประเมินโครงการ การประเมินโครงการสามารถกระทำได้ 3 ระยะ การประเมินก่อนดำเนินงาน การประเมินระหว่างดำเนินงานและ การประเมินหลังการดำเนินงาน

  37. การประเมินก่อนดำเนินงาน (Pre-Implementation Evaluation) เป็นการประเมินความเหมาะสมของตัวโครงการก่อนการดำเนินงานเช่นการประเมินความจำเป็นในการฝึกอบรมความจำเป็นหรือปัญหานั้นสามารถแก้ไขได้ดีที่สุดด้วยการฝึกอบรมหรือไม่? ความเหมาะสมของจุดมุ่งหมายวัตถุประสงค์เป้าหมายและวิธีการโอกาสของการประสบความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายความเป็นไปได้ของโครงการเป็นต้น

  38. การประเมินระหว่างดำเนินงาน (Implementation Evaluation) เป็นการประเมินกระบวนดำเนินงานการฝึกอบรมระหว่างที่การฝึกอบรมกำลังดำเนินการอยู่สำหรับพัฒนาประสิทธิภาพและปรับปรุงแก้ไขเช่นการประเมินการบริหารโครงการการดำเนินงานการฝึกอบรมที่ปฏิบัติจริงเมื่อเทียบกับแผนปัญหาอุปสรรค์ระหว่างการฝึกอบรมและการแก้ไขเป็นต้น

  39. การประเมินหลังการดำเนินงาน (Post-Implementation Evaluation) 1.การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) 2.การประเมินการเรียนรู้ (Learning) 3.การประเมินพฤติกรรม(Behavior) 4. การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์การ (Results)

  40. Model การประเมินของ Alkin Marvin C. Alkin มีแนวความคิดในการประเมินโครงการว่าเป็นการประเมินเพื่อการตัดสินใจและได้ให้ความหมายของการประเมินผลว่าเป็นกระบวนการกำหนดขอบเขตของสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจการเลือกข้อมูลข้อสารสนเทศที่เหมาะสมการรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่การจัดทำรายงานสรุปให้แก่ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจใช้ในการพิจารณาเลือกทางเลือกที่เหมาะสมเกี่ยวกับการดำเนินงานตามโครงการ

  41. Model การประเมินของ Alkin 5 องค์ประกอบ 1. การประเมินระบบ (System Assessment) 2. การประเมินการวางแผนโครงการ (Program Planning ) 3. การประเมินการดำเนินการ (Program Implementation) 4. การประเมินเพื่อปรับปรุงโครงการ (Program Improvement) 5. การประเมินเพื่อการยอมรับโครงการ (Program Certification)

  42. 1. การประเมินระบบ (System Assessment) เป็นการประเมินเกี่ยวกับระบบต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโครงการทั้งหมดตั้งแต่การกำหนดปัญหาการหาทางเลือกในการแก้ปัญหาการตัดสินใจเลือกทางเลือกในการแก้ปัญหาเพื่อนำมากำหนดเป็นขอบเขตจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ตลอดจนกระบวนการต่างๆในการดำเนินการตามโครงการ

  43. 2. การประเมินการวางแผนโครงการ (Program Planning ) เป็นการประเมินก่อนที่จะนำโครงการไปดำเนินการเพื่อดูว่าโครงการที่กำหนดขึ้นมานั้นมีการวางแผนที่เหมาะสมแค่ไหนเพื่อนำไปสู่การเลือกโครงการที่เหมาะสมต่อไปในการประเมินอาจจะกระทำได้โดยการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาพิจารณาว่าการวางแผนโครงการนั้นจะสามารถทำให้โครงการบรรลุตามที่คาดหวังไว้หรือไม่ทั้งนี้อาจต้องอาศัยเกณฑ์การประเมินทั้งจากภายนอกและภายใน

  44. 3. การประเมินการดำเนินการ (Program Implementation) เป็นการประเมินผลในขณะที่โครงการกำลังดำเนินเพื่อที่จะนำผลจากการประเมินมาใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้มีอำนาจตัดสินใจใช้ในการตัดสินว่าจากข้อมูลและสารสนเทศต่างๆเท่าที่โครงการดำเนินการไปแล้วนั้นโครงการดังกล่าวควรจะดำเนินการต่อไปในรูปใดจะมีการแก้ไขปรับปรุงหรือไม่ก่อนที่จะก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นแก่โครงการได้

  45. 4. การประเมินเพื่อปรับปรุงโครงการ (Program Improvement) เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในการตัดสินใจในการปรับปรุงโครงการทั้งโครงการที่กำลังดำเนินอยู่และเมื่อโครงการสิ้นสุดแล้วในการประเมินผลนั้นจะดูว่าโครงการที่ประเมินนั้นจะประสบความสำเร็จหรือความล้มเหลวในแต่ละด้านของโครงการตลอดจนผลกระทบที่มีต่อโครงการอื่นเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงโครงการ

  46. 5. การประเมินเพื่อการยอมรับโครงการ(Program Certification) ในบางครั้งผลจากการประเมินโครงการอาจต้องนำไปใช้เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องกับโครงการยอมรับว่าโครงการนั้นมีความสมเหตุสมผลและเหมาะสมที่จะนำไปดำเนินการเพื่อให้เกิดผลตามเป้าหมายดังนั้นในการประเมินผลจึงจำเป็นต้องหาข้อมูลหรือสารสนเทศเพื่อนำมาใช้อ้างอิงในการยืนยันว่าโครงการนั้นมีความเป็นไปได้และจะเกิดประโยชน์ทั้งนี้เพื่อการยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้อง

  47. Model การประเมินผล (Evaluation) ของ Alkin ประเมินเพื่อการยอมรับโครงการ(Program Certificate) ประเมินระบบ(System Assessment) ประเมินการวางแผนโครงการ(Program Planning) ประเมินการดำเนินการ(Program Implement) ประเมินเพื่อการปรับปรุง(Program Improve)

  48. การออกแบบการประเมิน ในการที่จะประเมินผลสิ่งใดก็ตามมีความจำเป็นมากที่ต้องออกแบบ (Design) ในการประเมินผลเสียก่อนซึ่งองค์ประกอบต่างๆที่ใช้ในการออกแบบการประเมินตามลำดับขั้นตอน 6 ขั้นดังนี้

  49. การออกแบบการประเมิน 1. การเลือกจุดเน้นในการประเมิน ((Focusing) 2. การเลือกรูปแบบ Model ในการประเมิน (Designing) 3. การเก็บรวบรวบข้อมูล (Collecting) 4. การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล (Analyzing and Interpreting) 5. การรายงานผลการประเมิน (Reporting) 6. การประเมินผลการประเมิน (Meta Evaluation)

  50. ทางเลือกในการออกแบบการประเมินทางเลือกในการออกแบบการประเมิน 1.รูปแบบที่กำหนดตายตัวและไม่กำหนดตายตัว (Fixed VS. Emergent Evaluation) 2.การประเมินระหว่างโครงการและการประเมินรวบยอด (Formative VS. Summative Evaluation) 3.การประเมินแบบทดลองหรือกึ่งทดลองกับแบบไม่ทดลอง (Experimental or Quasi Experimental VS. Natural Evaluation)

More Related