230 likes | 682 Views
แนวทางการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค. สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. ทำไมต้องกำหนดแนวทาง. ปัจจุบันมี สารเคมีเป็นจำนวนมาก บางตัวได้ผล บางตัวไม่ได้ผล บางตัวอาจเป็นอันตราย บางตัวมีราคาสูง ผู้ใช้มีหลากหลาย และส่วนใหญ่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้อะไร จะใช้อย่างไร >>> ไม่ได้ผล >>> ดื้อยา
E N D
แนวทางการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรคแนวทางการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค
ทำไมต้องกำหนดแนวทาง • ปัจจุบันมีสารเคมีเป็นจำนวนมาก บางตัวได้ผล บางตัวไม่ได้ผล บางตัวอาจเป็นอันตราย บางตัวมีราคาสูง • ผู้ใช้มีหลากหลายและส่วนใหญ่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้อะไร จะใช้อย่างไร >>> ไม่ได้ผล >>> ดื้อยา • ปัจจัยที่ไม่อาจควบคุมได้ทำให้ได้สารเคมีที่ไม่มีคุณภาพมาใช้
วัตถุประสงค์ • กำหนดมาตรฐานการใช้สารเคมีของประเทศ ( สารเคมีที่ใช้ อุปกรณ์ และวิธีการใช้ ) ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความปลอดภัย • กำหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกสารเคมีที่จะนำมาใช้ทั้งในแง่ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความปลอดภัยและการติดตามประเมินผลการใช้สารเคมี • กำหนดแนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อหาสารเคมี อุปกรณ์ และวิธีการที่จะนำมาใช้ในอนาคต
วิธีดำเนินการ • รวบข้อมูลจากนักวิชาการทั่วประเทศ สังเคราะห์ แล้วกำหนดเป็นมาตรฐาน • การสังเคราะห์จะทำผ่านคณะกรรมการกำหนดนโยบายอย่างน้อยปีละครั้ง • มาตรฐานที่ได้จากการประชุม จะถูกเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทางในการใช้สารเคมีของประเทศต่อไป • การติดตามประเมินผล รับผิดชอบโดยสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง • การวิจัยและพัฒนา จะจัดลำดับ จากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการเป็นหลัก
คณะกรรมการกำหนดนโยบายคณะกรรมการกำหนดนโยบาย การใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค
คณะกรรมการประกอบด้วย • นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะประธานคณะกรรมการ • นายแพทย์ชัยพร โรจน์วัฒน์ศิริเวชรองประธาน • ดร. ชูศักดิ์ ประสิทธิสุข กรรมการ • รศ. ดร. สุรเชษฐ จามรมาน กรรมการ • รศ. ดร. ธีรภาพ เจริญวิริยะภาพกรรมการ • ผศ. ดร. อภิชัย ดาวราย กรรมการ • รศ. ดร. ชำนาญ อภิวัฒนศร กรรมการ • รศ. ดร. นฤมล โกมลมิศว์ กรรมการ • รศ. ดร. ปรัชญา สมบูรณ์ กรรมการ • รศ. เวช ชูโชติ กรรมการ
คณะกรรมการประกอบด้วย • รศ. ดร. สุนทร พิพิธแสงจันทร์กรรมการ • นายสุทัศน์ นุตสถาปนากรรมการ • ดร. วุฒิพงศ์ ลิมปวิโรจน์ กรรมการ • นายกสิน ศุภปฐมกรรมการ • ดร. พรรณเกษม แผ่พร กรรมการ • นางณัญจณา ลือตระกูล กรรมการ • นายแพทย์กิตติ ปรมัตถผล กรรมการ • ดร. สีวิกา แสงธาราทิพย์ กรรมการ • ดร. วรรณภา สุวรรณเกิดกรรมการ • นายสุชาติ ผาติพงศ์กรรมการ
คณะกรรมการประกอบด้วย • นายบุญเสริม อ่วมอ่องกรรมการ • นายวิรัช วงศ์หิรัญรัตน์กรรมการ • นายสมบัติ อุนนกิตติกรรมการ • นายฏากร หลิมรัตน์กรรมการและเลขานุการ • นางสุธีรา พูลถินกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
การประชุมกำหนดนโยบายการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรคการประชุมกำหนดนโยบายการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค ครั้งที่ 1 วันที่ 1 – 3 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ณ. โรงแรมเชียงใหม่ภูคำ อ. เมือง จ. เชียงใหม่
แนวทางการควบคุมแมลงนำโรคและการใช้สารเคมีของประเทศแนวทางการควบคุมแมลงนำโรคและการใช้สารเคมีของประเทศ • การควบคุมแมลงนำโรคจะดำเนินการแบบผสมผสาน (IVM) เป็นหลัก สารเคมีจะใช้เท่าที่จำเป็น • การดำเนินการควบคุมแมลงนำโรคอาศัยความร่วมมือของชุมชน องค์กร หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน • ส่วนกลางจะเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเกี่ยวกับการควบคุมแมลงนำโรค รวมทั้งในเรื่องของการบริหาร จัดการที่ดี
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารเคมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารเคมี • ผ่านการประเมินจาก WHO และ มี specification • รูปแบบของสารเคมีต้องเหมาะสมต่อวิธีการนำไปใช้ • มีการศึกษาวิจัยภาคสนามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย เช่น • ประสิทธิภาพในการควบคุมยุงและฤทธิ์คงทน • การต้านทานของยุงต่อสารเคมี • ผลกระทบทางระบาดวิทยา • การยอมรับของประชาชนและชุมชน • ความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานและประชาชน ตลอดจนสิ่งแวดล้อม • ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา • ความคุ้มค่าต่อการลงทุน
Table 1. Selected insecticides suitable for cold or thermal fogging for mosquito control Space spray application of insecticides for vector and public health pest control, A practitioner’s guide WHO/CDS/WHOPES/GCDPP/2003.5 Page 16
Table 4. WHOPES-recommended insecticides for indoor residual spraying against malaria vectors MALARIA VECTOR CONTROL,DECISION MAKING CRITERIA AND PROCEDURES FOR JUDICIOUS USE OF INSECTICIDES WHO/CDS/WHOPES/2002.5 Rev.1 Page 49
สารเคมีที่นำมาพิจารณาสำหรับการพ่น Space sprayingควบคุมยุงลาย • Permethrin • Malathion • Fenitrothion • Deltamethrin • Lamdacyhalothrin • Cypermethrin • Zeta-cypermethrin • Bifenthrin • Cyfluthrin • Propoxur
สารเคมีที่นำมาพิจารณาสำหรับการควบคุมลูกน้ำยุงลายสารเคมีที่นำมาพิจารณาสำหรับการควบคุมลูกน้ำยุงลาย • ทรายเคลือบ Temephos • ซีโอไลท์เคลือบ Temephos • IGR( InsectGrowthRegulator) • Bti
สรุปผลการประชุม • การคัดเลือกสารเคมีควบคุมกำจัดยุงพาหะนำไข้เลือดออก มติที่ประชุมแนะนำให้ใช้ สารเดลตาเมทริน 0.5 % w/v ทั้งสูตรเดี่ยวและสูตรผสมสารเสริมฤทธิ์ พ่น space sprayควบคุมยุงตัวเต็มวัย ในงานควบคุมยุงพาหะนำไข้เลือดออก • การคัดเลือกสารเคมีควบคุมกำจัดลูกน้ำยุงพาหะนำไข้เลือดออก มติที่ประชุมแนะนำให้ใช้ ทรายเคลือบทีมีฟอส 1% • ควรมีการ Monitor สารเคมีเป็นระยะ โดยใช้ Common protocol
คณะกรรมการกำหนดนโยบายเสนอกรมฯ เพื่อพิจารณา • นโยบายการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค • กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข • จากมติคณะกรรมการกำหนดนโยบายการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค ปี 2548 • การควบคุมยุงพาหะโรคไข้เลือดออก • สารเคมีควบคุมกำจัดยุงพาหะนำไข้เลือดอก ให้ใช้สารเดลตาเมทริน 0.5 % w/vทั้งสูตรเดี่ยวและสูตรผสมสารเสริมฤทธิ์ พ่น space sprayควบคุมยุงตัวเต็มวัย • สารเคมีควบคุมกำจัดลูกน้ำยุงพาหะนำไข้เลือดอก ให้ใช้ทรายเคลือบทีมีฟอส 1% • การควบคุมกำกับการใช้สารเคมี (Monitor) ควรมีการติดตามเป็นระยะ ๆ เพื่อหาระดับ ความต้านทานสารเคมีของแมลง โดยใช้รูปแบบการศึกษาวิจัยที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • ทั้งนี้นโยบายที่กำหนด หากมีสารเคมีชนิดใหม่ที่ได้รับการศึกษาวิจัยที่ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของคณะกรรมการกำหนดนโยบายการใช้สารเคมีควบคุมแมลงนำโรค และหากปรากฏว่าระดับความไวของพาหะนำโรคต่อสารเคมีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันลดลงจนเป็นปัญหาต่อการควบคุมโรค คณะกรรมการจะดำเนินการพิจารณาในลำดับต่อไป • ---------------------------------------------------------------------------------------------------------