1 / 71

ประชาคมอาเซียน : โอกาสและความท้าทาย การป้องกันควบคุมโรค พื้นที่ชายแดนและแรงงานต่างด้าว

ประชาคมอาเซียน : โอกาสและความท้าทาย การป้องกันควบคุมโรค พื้นที่ชายแดนและแรงงานต่างด้าว. สพ.ญ. ดาริกา กิ่งเนตร , DVM , MPH ผู้อำนวยการสำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค โทรศัพท์ 02 590 3835, 02 590 3832, โทรสาร 02 591 3625, 02 591 3624

aoife
Download Presentation

ประชาคมอาเซียน : โอกาสและความท้าทาย การป้องกันควบคุมโรค พื้นที่ชายแดนและแรงงานต่างด้าว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมอาเซียน : โอกาสและความท้าทาย การป้องกันควบคุมโรคพื้นที่ชายแดนและแรงงานต่างด้าว สพ.ญ. ดาริกา กิ่งเนตร, DVM, MPH ผู้อำนวยการสำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค โทรศัพท์ 02 590 3835, 02 590 3832, โทรสาร 02 591 3625, 02 591 3624 อีเมล์ : darika.kingnate@gmail.com, oic.ddc@gmail.com เว็บไซต์ : http://oic.ddc.moph.go.th

  2. ประชาคมอาเซียน ASEAN Community AC กับกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ

  3. อาเซียน(สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)ASEAN :Association of Southeast Asian Nations • ประเทศสมาชิกก่อตั้ง ปีพ.ศ. 2010 • Thailand • Malaysia • Indonesia • Philippines • Singapore • ประเทศสมาชิก • BruneiDarussalam ปีพ.ศ. 2527 • Viet Namปีพ.ศ. 2538 • Lao PDR ปีพ.ศ. 2540 • Myanmar ปีพ.ศ. 2540 • Cambodia ปีพ.ศ. 2542 “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) 8 สิงหาคม 2510

  4. 31 ธันวาคม 2558ผู้นำจะประกาศการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ASEAN Community : AC

  5. พัฒนามนุษย์ • สวัสดิการสังคม • ลดความยากจน • ส่งเสริมด้อยโอกาส • สร้างอัตลักษณ์อาเซียน • พัฒนาสังคมผ่านกรอบอนุภูมิภาค • แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม • พัฒนาทางการเมือง • คุ้มครองสิทธิมนุษยชน • ร่วมมือป้องกันทางทหารและความมั่นคงอาเซียน • เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ สงบสุข และแข็งแกร่ง • ตลาดและฐานการผลิตเดียว • ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน • มีการพัฒนาที่เท่าเทียม และ • บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก โครงสร้างประชาคมอาเซียน

  6. โครงสร้างอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียนโครงสร้างอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน ASEAN Community - ACOne Vision, One Identity, One Community กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ พณ. กรมอาเซียน กต. สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ สป.พม. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ปี พ.ศ. 2553

  7. Opportunities Larger markets, higher economic growth More work opportunities Better IT network More exchange and collaborations etc. ASEAN “One” communitycomes with opportunities and threats • Threats • Easier and more cross-border movements of people, workforce; hence, the source of infections • Influx of poor quality foods, drugs, chemicals, alcohol & tobacco • More accidents • Overload of health service • Drainage of HCW • etc.

  8. ผลกระทบ ทางบวก

  9. ASEAN(Thailand, Malaysia, Indonesia, Philippines, Singapore, BruneiDarussalam, Viet Nam, Lao PDR, Myanmar, Cambodia) ประชากรประมาณ 600 ล้านคน (ปี 2555) • ASEAN+3 อาเซียนบวก จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ • ประชากรประมาณ 2,120 ล้านคน • เท่ากับ 1 ใน 3 ของประชากรโลก + • ASEAN+6 • อาเซียน บวก จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ • ประชากรประมาณ 3,352 ล้านคน • เกือบเท่ากับ 1 ใน 2 ของประชากรโลก Internet World Statsข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555 Total World Population7,017,846,922 China 1,343,239,923, India 1,205,073,612, Indonesia 248,645,008, Japan 127,368,088, South Korea50,004, 441 Australia22.68 Million New Zealand 4.43 million

  10. ภาพรวมโอกาสประชาคมอาเซียนภาพรวมโอกาสประชาคมอาเซียน โอกาสของประชาคมอาเซียน ที่มา บทวิเคราะห์จากศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ ASEAN 10 countries : 583 Millions of Pop. (9 % of the world's population) GDP 1,275 BillionsUSD (2% of the world’s GDP) ASEAN+3 :2,068 Millions of Pop.(31 % of the world's population) GDP 9,901 BillionsUSD (18% of the world’s GDP) ASEAN+6: 3,284 Millions of Pop. (50 % of the world's population) GDP 12,250 BillionsUSD (22% of the world’s GDP)

  11. พิธีลงนาม MOU ระหว่างนพ.สสจ. สะหวัน-มุก-อำนาจ-อุบลฯ-นครฯ

  12. Health Collaborative Networks Global health APEC ASEAN ACMECS Regional & Trans-regional – APEC, ASEAN,…… Sub-regional - GMS, LMI, ACMECS, …… Bilateral- TUC, JICA, TICA, China, UK HPA, ……… - Neighboring countries :Cambodia, Lao PDR, Myanmar, Malaysia UN Agencies -WHO, UNICEF, FAO, OIE, ….. NGOs - MBDS, KENAN, ………….…… MBDS

  13. ASEAN Socio-cultural Community - ASCC

  14. ASEAN Health Ministerial Meeting (AHMM) Senior Officials Meeting on Health Development (SOMHD) ASEAN Expert Group on Commu-nicable Diseases (AEGCD) ASEAN Working Group on Pandemic Preparedness and Responses (AWGPPR) ASEAN Task Force on Non Communicable Disease (ATFNCD) ASEAN Technical Focal Point on AIDS (ATFOA) ASEAN Focal Point on Tobacco Control (AFPTC) ASEAN Expert Group on Food Safety (AEGFS) ASEAN Working Group on Pharma-ceutical Develop. (AWGPD) ASEAN Task Force on Traditional Medicine (ATFTM) ASEAN Task Force on Maternal and Child Health (ATFMCH) ASEAN Mental Health Task Force (AMT) • ASEAN+3 • FETN • APL • Risk Communication Health & Communicable Diseases, ASEAN Secretariat, Provide coordinating support to AMS, 4 staff, project based staff

  15. Main Land ASEAN ไทยกับกลุ่มประเทศ CLMV Cambodia, Lao PDR, Myanmar, Vietnam

  16. กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค

  17. ผลกระทบ ทางลบ

  18. Globalization, Global Warming, Ageing Society AC and ASEAN Connectivity,…. “Nothing on earth is more International than Disease” KeertiBhusanPradhan, WHO

  19. Distribution of migrants in Bangkok

  20. กรอบแนวคิดการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ของกรมควบคุมโรค

  21. ประเทศไทยพร้อมหรือยัง?Ever-Ready for emerging Infectious Diseases

  22. Preparedness for Public Health Crisis is paid off แม้นหวังตั้งสงบ จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์ ศัตรูกล้ามาประจัญ จักอาจสู้ริปูสลาย “If we want peace, we need Preparedness” King Rama VI

  23. “พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว”“พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” พระราชทานแก่คณะกรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัยฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันจันทร์ ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2540. “....ถ้าดูในกรุงเทพฯ บางทีเห็นหน้าคนที่ต้องมาจากต่างประเทศ โดยไม่ได้เข้ามาอย่างถูกต้อง ...เราก็ไม่ทราบว่าพวกนี้มีโรคอะไรติดตัวมาบ้าง ก็มีเหมือนกัน...ฉะนั้นต้องหาคนที่ติดเชื้อโรคต่างๆเหล่านี้มารักษา แม้จะเข้ามาโดยผิดกฎหมาย หรืออย่างไรก็ตาม โรคนั้นก็เข้ามาอย่างผิดกฎหมายเหมือนกัน แต่เราจะต้องต่อสู้โรคนี้ โดยไม่ต้องถือว่าเข้ามาอย่างถูกกฎหมายหรือผิดกฎหมาย....ต้องช่วย....มิฉะนั้นโรคนี้ก็อาจจะแพร่ออกไปได้อีก...อันนี้เป็นงาน..หรือว่าการบ้านในอนาคตที่จะต้องทำต่อไป ไม่ใช่ว่าเราได้ผลดีเป็นชัยชนะแล้วจะต้องหยุดยั้ง...”

  24. “พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว”“พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” พระราชทานแก่คณะกรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัยฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันจันทร์ ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2540. ทรงแปลด้วยพระองค์เอง : “…..If we look at some faces in Bangkok we can surmise that they came from foreign countries illegally. We do not know what diseases they carried, there must be some. We have to seek out those who carry a disease to provide them with some medical treatment. Whether they came in illegally or not, the diseases they carry have also entered the country illegally. Nevertheless, we must fight the diseases regardless of whether it came legally or illegally. We must help, otherwise the disease will surge up and spread out again. This is the duty or it could be called the future mission that we have to do in the future. We cannot rest on our laurels after our victory, we cannot stop working.”

  25. หลักยึดตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ปี พ.ศ. 2555-2559 เตรียม “ระบบภูมิคุ้มกัน” ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงให้เพียงพอพร้อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศ มีการวิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ ขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ

  26. ยุทธศาสตร์ประเทศ 1. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพื่อยกระดับรายได้ประชาชาติของไทย ให้ก้าวสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง 2. การสร้างความเท่าเทียมทางสังคม ด้วยการพัฒนาคุณภาพคนไทย การดูแลประชากรทุกช่วงวัย การปฏิรูปการศึกษา เพื่อสร้างคน ให้สอดคล้องกับความต้องการของโลก 3. การพัฒนาเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างมีคุณภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 4. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อทำให้ระบบ การบริหารประเทศมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

  27. ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็งและสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอาเซียนร่วมกัน (ASEAN) ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน (รมว.สธ. นพ.ประดิษฐสินธวณรงค์ ) วิสัยทัศน์ ประชาชนไทยมีสุขภาพแข็งแรง สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ เป้าหมาย สูงสุด ยั่งยืน พัฒนาขีดความสามารถ(Capacity Building) ในระบบสนับสนุนบริการสุขภาพ ระบบสุขภาพภาคประชาชน และระบบการคุ้มครองผู้บริโภคทางด้านสุขภาพ ทั้งระดับบุคคล องค์กร การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อเสริมศักยภาพให้ประเทศไทยสามารถแสดงบทบาทในเชิงรุก ในเวทีสุขภาพอาเซียน และสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน พันธกิจ ๑.การเสริมสร้างความสามรถในการแข่งของ สินค้าบริการการค้าและการลงทุน ๕. การพัฒนากฎหมาย กฎและระเบียบ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ๖. การสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียน ๒.การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ คุ้มครองทางสังคม ยุทธศาสตร์ ๗. การเสริมสร้างความมั่นคง ๓. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และโลจิสติกส์ ๘. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสของอาเซียน ๔. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  28. กรมควบคุมโรค “เป็นองค์กรชั้นนำ ระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชน จากโรคและภัยสุขภาพด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563” วิสัยทัศน์

  29. 6 ยุทธศาสตร์ 2. การพัฒนาเป็นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของชาติ ที่ได้มาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับ 1. การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในประเทศและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุนพื้นที่ในการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน 3. การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงและได้ผล เพื่อป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 6. การพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มี ขีดสรรถนะสูงได้าตรฐานสากล 4. การเตรียมความพร้อม และดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพื้นที่และได้มาตรฐานสากล 5. การติดตามและประเมินผลภาพรวมของการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ภาพ : กอง จ. และ สรป.คร.

  30. โรคติดต่อที่มีความเสี่ยงจะเกิดมากขึ้นโดยเฉพาะการแพร่ระบาดข้ามพรมแดน • โรคติดต่อจากคนสู่คน เช่น วัณโรค โรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (รวมทั้งเชื้อดื้อยา) • โรคติดต่อนำโดยแมลง เช่น โรคมาลาเรีย (รวมทั้งเชื้อดื้อยา) โรคเท้าช้าง ชิคุนกุนยา • โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคโปลิโอ โรคคอตีบ โรคหัด • โรคติดต่ออุบัติใหม่และโรคสำคัญอื่น ๆ เช่น โรคไข้หวัดนก โรคเรื้อน คุดทะราด โรคมือเท้าปาก โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน (กาฬโรค พิษสุนัขบ้า นิปาห์ไวรัส แอนแทรกซ์) ฯลฯ

  31. Plague Outbreaks India, 1994 Economic Loss:1,700 Mil.USD Between 1348 and 1359 the Black Death wiped out an estimated 30 percent of the population in Europe and Asia.

  32. Influenza A/H7N9 in China February 2013–January 2014 • Summary of confirmed human infections*: • Median age = 58 years (range: 3-91) • 72% cases male • Apparent case fatality rate = 24% • Cases in clusters (2 or more) = at least 5% • Cases with connections to China = 100% • Cases with likely contact with poultry = at least 34% • Cases involving health workers = 0% • Cases with basic data** = 55% Sources = World Health Organization, Food and Agriculture Organization, OIE, ProMed, Flutrackers, and scientific publications through 1/23/14; * may be biased towards more-severe cases that are more-easily recognized. ** includes age, gender, location, clinical outcome, and dates for symptom onset, hospitalization, death (if applicable) in publicly-available reports = male; = female ^ Anhui (4), Beijing (2), Fujian (12), Hebei (1), Henan (4), Hunan (2), Jiangxi (6), Shandong (2), Taiwan (2)

  33. Social mobilization Case Management Co-ordination Surveillance & Laboratory investigation Logistics & Security Components of CommunicableDisease Control Measures Risk Communication Outbreak Communication Crisis Communication (All Hazards)

  34. Success Stories in Thailand Plague eliminated (1952) Smallpoxeradicated (1962) Yaws (no cases since 1966) few cases re-emerged in some years, 22 cases in 2004 Poliomyelitis (no cases since 1997) Vaccine preventable diseases Human diseases (Diphtheria, Pertussis, Tetanus, Mump, JE) Zoonoses(Anthrax, Rabies,…) Filariasis, Leprosy (under controlled) HIV/AIDS(substantially controlled)

  35. Emerging Infectious Diseases (EIDs) • New infectious diseases • New geographical areas • Re-emerging infectious diseases • Antimicrobial resistant organisms • Deliberate use of bio-weapons

  36. EIDs of Major Concerns Avian influenza and Pandemic influenza Re-emerging TB (MDR and XDR) Drug Resistant Malaria, HIV/AIDS (more focus in youths) Severe HFMD (Enterovirus 71, ….) EIDs and Re-EIDs from abroad e.g. - Plague, SARS - Encephalitis (Nipah, West Nile..) - Hemorrhagic Fever (Ebola, Marburg….), Yellow Fever - Chikungunya - Vaccine preventable diseases (diptheria,….) Antimicrobial resistance pathogens

  37. Risk for areas with recent local transmission of SARS ? ? ประเทศไทย ไม่มีการแพร่ระบาด!!! Low (+) Case in area of exportation ? Medium (++) High (+++) Low (+) : Imported probable SARS case(s) have produced only one generation of local probable cases, all of whom are direct personal contacts of the imported case(s) Medium (++) : More than one generation of local probable cases, but only among persons that have been previously identified and followed-up as known contacts of probable SARS cases High (+++) : High transmission pattern other than described above in (+) and (++) Uncertain : Insufficient information available to specify areas or extent of local transmission

  38. WHO Issues first travel advisory 15 March WHO Issues Global Alert 12 March บทเรียนจาก SARS ! • Global cooperation • National transparency • National preparedness • Naming diseases carefully

  39. ผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยสงสัย การระบาดในสัตว์ปีก การระบาดของโรคไข้หวัดนกในประเทศไทย ปี 2547 –2549 (ป่วย 25 เสียชีวิต 17 ราย รายล่าสุด ส.ค. 49) มิ.ย.-ต.ค. 47 ม.ค.-เม.ย. 47 ก.ค.-พ.ย. 48 มิ.ย.-ส.ค.49 ม.ค.-พ.ย.50 เชื้อ H5N1ที่นครพนม Fujian-like (clade 2) เชื้อ H5N1 ทั้งหมด Vietnam-like (clade 1)

  40. HPAI Task Force Prov. Gov. (Director) Provincial Livestock Office Provincial Health Office HPAI Task Force District Gov. (Director) District Livestock Officer District Health Office Local municipalities Sub-District Health Unit Chief of village/ Livestock volunteer/ Poultry owner Public Health Volunteer Intregrated management of HPAI at provincial level

  41. บทเรียนจากไข้หวัดใหญ่ (ระบาดใหญ่) 2009 การพัฒนาด้านการสื่อสารความเสี่ยง Voices of reason quieter than voices of panicHilary M Babcock, MD, MPH

  42. ไข้หวัดใหญ่ รู้ก่อน รู้ทัน ป้องกันได้

  43. Response in Public Health Emergency Botulism Outbreak (163 cases) from Canned Bamboo shoot, Nan, 2006

  44. การทำงานของด่านควบคุมโรค ช่วงเกิดโรคมือเท้าปากที่กัมพูชา ปี 2555

  45. ผู้ป่วยโรคคอตีบ การระบาดโรคคอตีบในพื้นที่ชายแดนความร่วมมือระหว่างประเทศ, PHER, Orphan drugs, Risk Communication Confirm case Carrier 27 26 21 22 23 24 1 14 18 20 4 5 7 8 15 17 25 19 12 16 11 6 2 3 9 10 13

  46. ? Expected roles of national health authority • Policy and strategy development • Knowledge management • Technology assessment & development • Standardization of disease control practices • Surveillance • Regulatory • International cooperation • monitoring and evaluation • Financing • Information • manpower development

  47. แนวทางการดำเนินงานสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของกรมควบคุมโรค • เร่งรัดพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายภายในประเทศ ภูมิภาค และนานาชาติ • สนับสนุนพื้นที่ให้สามารถดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการพัฒนาระบบและการบูรณาการในทุกระดับ ผ่านการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งอย่างยั่งยืน (DCCD) ภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) • พัฒนาขีดความสามารถหลักตาม IHRs(2005)

  48. แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) • พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรค ที่มีความไว ถูกต้อง และเชื่อมโยงครอบคลุมทั่วถึง รวมทั้งการพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team : SRRT) • พัฒนาระบบบริการป้องกันโรคล่วงหน้า ที่เข้าถึงง่ายและเป็นมิตร เช่น การให้วัคซีน การคัดกรองโรคที่สำคัญ การให้ยากำจัดเชื้อโรค และการเข้าถึงความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อด้วยตนเอง • การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เช่น มีหน่วยงานรับผิดชอบการบริหารจัดการ การจัดการระบบการเงิน การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร รวมถึง อสม.ต่างด้าวการวิจัยพัฒนา และการติดตามประเมินผล

More Related