1 / 52

รองศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา วัธนสุนทร

โมเดลการประเมิน. รองศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา วัธนสุนทร. รูปแบบการประเมินโครงการ. หมายถึง กรอบความคิด หรือแบบแผนที่เป็นระบบซึ่งแสดงให้เห็นขั้นตอนหรือกระบวนการประเมิน. จำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ตามเกณฑ์ การจำแนกที่ต่างกัน. การจัดกลุ่มแบบจำลองการประเมิน. เพื่อการตัดสินใจ. อิงวัตถุประสงค์.

louvain
Download Presentation

รองศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา วัธนสุนทร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โมเดลการประเมิน รองศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา วัธนสุนทร

  2. รูปแบบการประเมินโครงการรูปแบบการประเมินโครงการ หมายถึง กรอบความคิด หรือแบบแผนที่เป็นระบบซึ่งแสดงให้เห็นขั้นตอนหรือกระบวนการประเมิน จำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ตามเกณฑ์ การจำแนกที่ต่างกัน

  3. การจัดกลุ่มแบบจำลองการประเมินการจัดกลุ่มแบบจำลองการประเมิน เพื่อการตัดสินใจ อิงวัตถุประสงค์ เพื่อการตัดสินคุณค่า แบบแก้ต่าง เพื่อผู้บริโภค ไม่อิงวัตถุประสงค์

  4. รูปแบบการประเมินโครงการที่นิยมใช้รูปแบบการประเมินโครงการที่นิยมใช้

  5. 1. รูปแบบการประเมินของไทเลอร์ (Tylerian Model) 2. รูปแบบการประเมินของครอนบาค (Cronbach) 3. รูปแบบการประเมินของเคอร์กแพตทริค (Kirk Patrick Model) 4. รูปแบบการประเมินของสคริฟเวน (Scriven, 1967

  6. 5. รูปแบบการประเมินของสเตค (Robert E. Stake, 1978) 6. รูปแบบการประเมินของโพรวัส (Provus Model) 7. รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (CIPP Model) 8. รูปแบบการประเมินของอัลคิน (Alkin)

  7. 1. รูปแบบการประเมินของไทเลอร์ (Tylerian Model) Tyler เป็นบุคคลแรกที่พัฒนารูปแบบ การประเมินมาใช้ในการประเมินโครงการ

  8. ความหมายของการประเมิน (1943) การเปรียบเทียบผลอันเกิดจากการปฏิบัติหรือพฤติกรรมที่เกิดขึ้นกับจุดหมายที่กำหนดไว้ล่วงหน้า • ยึดจุดมุ่งหมายของโครงการเป็นหลัก • ตรวจสอบการจัดทำโครงการว่า สามารถบรรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ มากน้อย เพียงใด

  9. ? ดำเนินงาน แบบจำลองของไทเลอร์ 1943 วัดผลดำเนินงาน จุดมุ่งหมาย เปรียบเทียบ

  10. ขั้นตอนการประเมินโดยใช้รูปแบบการประเมินของไทเลอร์ขั้นตอนการประเมินโดยใช้รูปแบบการประเมินของไทเลอร์ กำหนดจุดมุ่งหมาย วางแผน ดำเนินงานตามแผน เปรียบ เทียบ เลือกและสร้างเครื่องมือวัด เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและทำการเปรียบเทียบ ผลกับจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้

  11. 2. รูปแบบการประเมินของครอนบาค (Cronbach, 1989) นิยาม การเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้สารสนเทศเพื่อ การตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ

  12. แนวคิด: ควรประเมินทั้งวัตถุประสงค์ที่ กำหนดและผลกระทบอื่น ๆ เรียกว่า Goal and side effect attainment model

  13. วัตถุประสงค์การประเมินวัตถุประสงค์การประเมิน 1. เพื่อปรับปรุงโครงการ 2. เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ 3. เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับระบบการบริหาร โครงการ

  14. 3. รูปแบบการประเมินของเคอร์กแพตทริค(Kirkpatrick) แนวคิด“การฝึกอบรมเป็นการช่วยเหลือบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการฝึกอบรมใดๆ ควรจะจัดให้มีการประเมิน ผลการฝึกอบรมซึ่งถือเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยให้รู้ว่า การจัดโปรแกรมการฝึกอบรมมีประสิทธิผลเพียงใด”

  15. การประเมินโครงการฝึกอบรมการประเมินโครงการฝึกอบรม • สามารถทำได้ 3 ระยะ • 1. การประเมินก่อนการฝึกอบรม • ความเหมาะสมของตัวโครงการ • ความจำเป็นหรือปัญหานั้นสามารถแก้ไข • ได้ดีที่สุดด้วยการฝึกอบรมหรือไม่ • ความเหมาะสมของจุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ วิธีการ • ความเป็นไปได้ของโครงการ

  16. 2. การประเมินระหว่างการฝึกอบรม • เป็นการประเมินกระบวนการดำเนินงานการฝึกอบรมระหว่างที่การฝึกอบรมกำลังดำเนินอยู่เช่น • การประเมินการบริหารโครงการ • การดำเนินงานการฝึกอบรมที่ปฏิบัติจริง • เมื่อเทียบกับแผน • ปัญหาอุปสรรคระหว่างการฝึกอบรมและ • การแก้ไข

  17. 3. การประเมินหลังการฝึกอบรม • ใช้รูปแบบการประเมินของเคริก์แพททริค ที่ได้เสนอการประเมินผล 4 ระดับ • การประเมินปฏิกิริยา (Reaction) • การประเมินการเรียนรู้ (Learning) • การประเมินพฤติกรรม (Behavior) • การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์การ (Results)

  18. Kirkpatrick เน้นว่า การอบรมต้องมาจากความต้องการจำเป็น ของผู้เข้ารับการอบรม มิใช่จากผู้จัด

  19. การประเมินผลการฝึกอบรมจะทำให้ได้ การประเมินผลการฝึกอบรมจะทำให้ได้ ความรู้อย่างน้อย 3 ประการ 1. การฝึกอบรมนั้นได้ให้อะไรหรือเกิด ประโยชน์ต่อหน่วยงานในลักษณะใดบ้าง 2. ควรยุติโครงการหรือดำเนินการต่อไป 3. ควรปรับปรุงหรือพัฒนาโปรแกรมการ ฝึกอบรมในส่วนใดบ้าง อย่างไร

  20. Kirkpatrickเสนอแนวคิดการประเมินผลงานการฝึกอบรม ใน 4 ลักษณะ 1. ประเมินปฏิกิริยา (Reaction) 2. ประเมินการเรียนรู้ (Learning) 3. ประเมินพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปหลังอบรม (Behaviour) 4. ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นต่อองค์กร (Results)

  21. 4. รูปแบบการประเมินของสคริฟเวน (Scriven, 1967) • จำแนกประเภทและบทบาทการประเมินเป็น • การประเมินความก้าวหน้า • (Formative Evaluation) • 2. การประเมินรวมสรุป • (Summative Evaluation)

  22. สิ่งที่ต้องประเมิน • การประเมินความคุ้มค่าภายใน • (intrincsic evaluation) • 2. การประเมินความคุ้มค่า • (pay-off evaluation)

  23. สคริฟเวน-1973 รูปแบบการประเมินไม่เน้นวัตถุประสงค์ (Goal-free evaluation) • การประเมินเน้นผลที่เกิดจริง (actual effects) • ผลที่คาดหมายทั้งหมดของโครงการหรือ • ผลสำคัญ (main effects) และผลข้างเคียง • (sideeffects)

  24. สคริฟเวน-1978 การประเมินความต้องการจำเป็น (Needs Assessment)

  25. 5. รูปแบบการประเมินของสเตค (Stake, 1978) ความหมาย: การเก็บข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง ที่สามารถนำมาใช้ในกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับ การบรรยายและการตัดสินคุณค่าสิ่งที่มุ่งประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมิน เพื่อให้ได้ข้อมูล ต่างๆ เพื่อ (1) นำมาบรรยายเกี่ยวกับโครงการ และ (2) ตัดสินคุณค่าของสิ่งมุ่งประเมิน

  26. ใช้วิธีศึกษาเฉพาะกรณี (case study) ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล • เน้นการสังเกตและการสัมภาษณ์ตามสภาพ • ธรรมชาติ โดย • ใช้ผู้สังเกต/สัมภาษณ์หลายคน • ทำการสังเกต /สัมภาษณ์จากผู้เกี่ยวข้อง • หลายกลุ่ม

  27. เน้นข้อมูลเกี่ยวกับ • การรับรู้ • กระบวนการ • ผลกระทบในด้านการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ 2 ส่วน คือ สารสนเทศภาคบรรยาย และ ภาคการตัดสินคุณค่า

  28. Stake's Countenance of Evaluation judge- ments observations intents ความ คาด หวัง สิ่งที่ เกิด จริง การ ตัดสิน คุณค่า standards มาตร ฐาน L O G I C A L ปัจจัยเบื้องต้น antecedent E M P I R I C A L หลักการ และ เหตุผล กิจกรรม transactions ผลลัพธ์ outcomes ภาค บรรยาย ภาค ตัดสิน คุณค่า

  29. Stake's Countenance of Evaluation ความสอดคล้อง congruence (ระหว่างแผนและการปฏิบัติ) ปัจจัยเบื้องต้นที่คาดว่าจะมี ปัจจัยเบื้องต้นที่มีจริง ความสัมพันธ์เชิงตรรก ความสัมพันธ์เชิงประจักษ์ ความสอดคล้อง กิจกรรมที่คาดว่าจะปฏิบัติ กิจกรรมที่ปฏิบัติจริง ความสัมพันธ์เชิงตรรก ความสัมพันธ์เชิงประจักษ์ ความสอดคล้อง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง แสดงรายละเอียดการบรรยายสิ่งที่มุ่งประเมิน

  30. 6. รูปแบบการประเมินของโพรวัส (Malcolm Provus) - 1969 ความหมาย: กระบวนการบริหารสารสนเทศ อย่างต่อเนื่อง เหมือนสุนัขเฝ้าบ้าน และ คนรับใช้ เพื่อพัฒนาการของโครงการ สู่ การตัดสินใจที่ถูกต้อง เน้นการประเมินตามวัตถุประสงค์

  31. รูปแบบ: การประเมินความไม่สอดคล้อง (Discrepancy evaluation model) กระบวนการค้นหาความไม่สอดคล้องระหว่าง ความคาดหวังกับผลการปฏิบัติ เพื่อระบุ ข้อบกพร่องของสิ่งที่มุ่งประเมิน ประเมินขณะดำเนินงาน โดยกลุ่มผู้ประเมิน จากภายนอกโครงการ

  32. (standard) ยุติกิจกรรม S 2. ดำเนิน การ ขั้น ต่อไป • เริ่ม • ต้น • งาน C D P (program performance) พัฒนา การเปลี่ยนแปลง (A) C = comparison, A=alternative-ทางเลือก ภาพแสดงรูปแบบการประเมินของโพรวัส

  33. กระบวนการประเมิน • กลุ่มผู้ประเมินและกลุ่มผู้รับผิดชอบในสิ่งที่ • มุ่งประเมิน ร่วมกันกำหนดมาตรฐาน • 2. พิจารณาความแตกต่างระหว่างการปฏิบัติ • กับมาตรฐานที่กำหนด (S-P) • 3.ใช้ผลการประเมินเพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับ • โครงการว่า จะพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลง • หรือดำเนินงานต่อ

  34. ขั้นตอนการประเมินตามโมเดลของโพรวัสขั้นตอนการประเมินตามโมเดลของโพรวัส • นิยามหรือออกแบบโครงการ (definition or • design) • 2. การดำเนินงานโครงการ (installation) • 3. กระบวนการ(process) ผลลัพธ์ระหว่างทาง • (interimproducts) • 4. ผลลัพธ์สุดท้าย (products) • 5. การวิเคราะห์ผลประโยชน์และค่าใช้จ่าย • (cost-benefit analysis)

  35. T T T T S P S P S P S P S S S S C C C D D D 1 3 2 C D 5 4 A A A A รูปแบบการประเมินความไม่สอดคล้องของโพรวัส

  36. 7. รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบีม (CIPP Model) Danail L. Stufflebeam 1967 เสนอแนวความคิดในการประเมินที่เป็นระบบ แบบแผนและอยู่ในลักษณะ Dynamic Model ใช้ควบคู่กับการบริหารโครงการเพื่อหาข้อมูล ประกอบการตัดสินใจอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา

  37. มีการประเมิน 4 ประเภท 1. C - Context Evaluation (สภาวะแวดล้อม) 2. I - Input Evaluation (ปัจจัยเบื้องต้น) 3. P - Process Evaluation (กระบวนการ) 4. P - Product Evaluation (ผลผลิต)

  38. Stufflebeam ได้จำแนกการตัดสินใจและการประเมินเพื่อการบริหารและการวางแผนไว้ 4 ประเภท ประเภทของการประเมิน ประเภทของการตัดสินใจ การประเมินสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation) ตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผน ในการกำหนดวัตถุประสงค์ (Planning Decisions) การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (Input Evaluation) ตัดสินใจเกี่ยวกับโครงสร้าง กิจกรรม วิธีการดำเนินงานใน โครงการ(Structuring Planning)

  39. ประเภทของการประเมิน ประเภทของการตัดสินใจ การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) ตัดสินใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน พร้อมกับการปรับปรุงโครงการ เพื่อให้สัมฤทธิ์ผลตามกำหนดถ้า จำเป็น(Implementing Decision) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) ตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ เช่น การปรับปรุง ในการนำไปดำเนิน งานซ้ำ หรือควรล้มเลิกโครงการ (Recycling Decisions)

  40. 1. การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context) • เป็นการประเมินเกี่ยวกับนโยบาย เป้าหมาย สภาพเศรษฐกิจ และสังคม ปัญหาและความต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ • สารสนเทศที่ได้นำมาใช้ในการตัดสินใจในการ กำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ

  41. เป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถามต่างๆเช่นเป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถามต่างๆเช่น • เป็นโครงการที่สนองปัญหาหรือความต้องการจำเป็นที่แท้จริงหรือไม่ • วัตถุประสงค์ของโครงการชัดเจนเหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์กรหรือนโยบายของหน่วยเหนือหรือไม่ • เป็นโครงการที่เป็นไปได้หรือไม่

  42. 2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (Input) • เป็นการประเมินความพร้อมของทรัพยากรต่างๆก่อนเริ่มโครงการว่ามีทรัพยากรพร้อมที่จะดำเนินโครงการหรือไม่ • สารสนเทศที่ได้นำมาใช้ในการตัดสินใจออกแบบและวางแผนการดำเนินงานโครงการ วิธีการ และกิจกรรมที่ควรใช้ในการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร

  43. เป็นการตรวจสอบเพื่อตอบปัญหาว่าเป็นการตรวจสอบเพื่อตอบปัญหาว่า • ปัจจัยที่มีอยู่มีความเหมาะสม พอเพียงหรือไม่ที่เมื่อคำนึงถึงผลลัพธ์ที่กำหนดในวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย และถ้าจะให้ได้รับผลสำเร็จดังกล่าว จะวางแผนดำเนินงานอย่างไรภายใต้ปัจจัยที่มีอยู่นั้น • กิจกรรม ยุทธวิธี ทางเลือกที่กำหนดไว้มีความเป็นไปได้หรือเหมาะสมเพียงใด

  44. 3. การประเมินกระบวนการ (Process) • เป็นการประเมินขณะทำงาน เป็นการประเมินความก้าวหน้าของโครงการ • สารสนเทศที่ได้นำมาใช้ในการตัดสินใจเพื่อการปรับปรุงการดำเนินโครงการโดยยึดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายเป็นหลัก

  45. เป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถามเป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถาม • การปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนหรือไม่ • กิจกรรมใดทำได้หรือทำไม่ได้เพราะเหตุใด • เกิดปัญหา อุปสรรคอย่างไร • ควรแก้ไขอะไรและอย่างไรจึงจะทำให้การ ดำเนินงานมีผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมาย

  46. 4. การประเมินผลผลิต ( Product ) • เป็นการประเมินหลังจากการดำเนินโครงการ สิ้นสุดแล้ว ประเมิน Output ประเมินOutcomes/Impact • สารสนเทศที่ได้นำมาใช้ในการตัดสินใจว่าควร จะคงไว้ ปรับขยายหรือล้มเลิกโครงการ

  47. เป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถามเป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถาม • เกิดผล/ได้ผลลัพธ์ตามวัตถุของโครงการ หรือไม่ • คุณภาพของผลลัพธ์เป็นอย่างไร • เกิดผลกระทบอื่นใด

  48. 8. โมเดลการประเมินของอัลคิน UCLA (Marvin A. Alkin) นิยาม: เป็นกระบวนการสืบเสาะเพื่อการตัดสินใจ การเลือกเฟ้นสารสนเทศที่เหมาะสม การรวบรวมและวิเคราะห์สารสนเทศเพื่อรายงานสรุปข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจเลือกทางเลือกต่าง ๆ

  49. ทำการประเมิน 5 ประเด็น 1. การประเมินระบบ (system assessment) 2. การประเมินการวางแผนโครงการ (program planning) 3. การประเมินการนำโครงการไปใช้ (program implementation)

  50. 4. การประเมินเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานใน โครงการ (program improvement) 5. การประเมินเพื่อรับรองโครงการ (program certification)

More Related