1 / 39

การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการประเมินผล

การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการประเมินผล. รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย โครงการบริการวิชาการด้านการบริหารจัดการภาครัฐฯ ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ประเมินตนเองก่อน และ หลัง คะแนน 0-5.

kimi
Download Presentation

การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการประเมินผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการประเมินผลการบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และการประเมินผล รองศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย โครงการบริการวิชาการด้านการบริหารจัดการภาครัฐฯ ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. ประเมินตนเองก่อน และ หลังคะแนน 0-5

  3. มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 บัญญัติให้การบริหารราชการและการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจำเป็น ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

  4. ความสามารถในการแข่งขันที่เหนือกว่าของประเทศความสามารถในการแข่งขันที่เหนือกว่าของประเทศ (Competitive Advantage of the Nation) • พลังทหาร • พลังอาวุธ • พลังทุน • พลังความรู้ • พลังเทคโนโลยี ประเทศผู้ด้อยพลังจะตกเป็นเหยื่อ

  5. ความรู้และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปความรู้และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป QC:Quality Control Plan, Do, Check, Act TQC:Total QC. Total PDCA PMQA เทคโนโลยีเพื่อ การแข่งขันของประเทศ TQA TQM Total Q management SQA, JQA etc. MBNQA Malcolm Baldrige National Quality Award

  6. โครงสร้างองค์กร เทคโนโลยี ขีดความสามารถองค์กร การบริหารเชิงกลยุทธ์ ระบบ/กระบวนงาน ปัจจัยที่ทำให้องค์กรภาครัฐแข่งขันไม่ได้ Competitive Advantage of the Nation

  7. อำนาจ สู่ท้องถิ่น การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ พรบ.ระเบียบ ข้าราชการฯ New Public Management พรฎ. GGและ การจัดทำคำ รับรองฯ พรบ.ระเบียบ บริหารฯ ฉบับที่ ๕ GFMIS, แผนที่ภาษี GISฯลฯ พรบ.ปรับปรุง โครงสร้างฯ ผลลัพธ์ 4 มิติ ปฏิรูป 5 ปัจจัยสำคัญ การนำองค์กร จัดการ กระบวนการ การจัดทำคำรับรอง การสร้างและ ปรับวัฒนธรรม กระบวนทัศน์ ของบุคลากร การวัด วิเคราะห์ KM PMQA 6+1 ยุทธศาสตร์ และ กำหนด กลยุทธ์ มุ่งเน้น HR การควบคุม ภายใน ปรับปรุง พัฒนาระบบ การบริหาร จัดการ มุ่งเน้นผู้รับ บริการฯ เทคนิคสำคัญเพื่อพัฒนา การจัดการ ความเสี่ยง HR Scorecard การถ่ายทอด ค่าเป้าหมาย สู่บุคคล

  8. ORGANS / ORGANIZATION Purpose, Structure, Relationship, Leadership, Helpful Mechanism, Rewards System :Ready to Work Organization ตา, โครงร่าง, ระบบประสาท, สมอง, ระบบอาหารกาย, ระบบอาหารใจ

  9. การป้องกันผลลัพธ์อันไม่พึงประสงค์ เข้าใจความหมายไม่ตรงกัน แก้ไขโดย Definition องค์ประกอบของคำไม่ตรงกัน แก้ไขโดย Analyze วัดผลไม่ได้ แก้ไขโดย Measure เสนอเป้าหมายลอยๆแต่ไม่สามารถบอกวิธีปรับปรุงหรือดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย แก้ไขโดย Improvement มีแผนงานที่จะดำเนินการ แต่ไม่สามารถนำแผนไปดำเนินงานได้จริง แก้ไขโดย Control ดำเนินการแล้วไม่นำผลประเมินไปใช้ประโยชน์ แก้โดย OFI

  10. ต้นฉบับก่อนปรับประยุกต์ต้นฉบับก่อนปรับประยุกต์

  11. แนวคิดการป้องกันผลลัพธ์อันไม่พึงประสงค์แนวคิดการป้องกันผลลัพธ์อันไม่พึงประสงค์ บรรลุผล 99.998

  12. จงจับคู่ให้ตรงกับที่มาของคำจงจับคู่ให้ตรงกับที่มาของคำ

  13. การบริหารคืออะไร การจัดการคืออะไร • การจัดสรรทรัพยากรให้เกิดความเสมอภาค เป็นธรรม และ มีจริยธรรม • การทำงานให้สำเร็จ • PAM + POSDCoRB • PDCA,POCCC,POSDC,POSLC • ทั้งการบริหารและการจัดการเป็นอันเดียวกัน

  14. ปัญหาคืออะไร และ อุปสรรคคืออะไร E • ไม่ได้ดังใจที่ตั้งไว้ • ปัจจัยทำให้งานไม่สำเร็จ • ทนไม่ได้จนต้องลงมือแก้ไข/ปรับปรุง • ไม่สมหวังตามที่ตั้งไว้ E { A

  15. ประเภทของปัญหา Formative Problem เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการพัฒนา หรือดำเนินการ Summative Problem เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการดำเนินการหรือการพัฒนา Development Problem เป็นปัญหาที่มุ่งยกเป้าประสงค์ให้สูงขึ้นกว่าเดิม P = ( E – A) C

  16. เทคนิคการแก้ปัญหา/พัฒนากับการจัดทำโครงการเทคนิคการแก้ปัญหา/พัฒนากับการจัดทำโครงการ • Data Collecting • Situation Analysis • Problem Identification • Objective Setting • Methodology Design • Evaluation ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กิจกรรม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  17. ความหมายของการประเมินผลความหมายของการประเมินผล 1)คือ กระบวนการตัดสินการบรรลุวัตถุประสงค์ของสิ่งที่ทำการประเมิน (R.W. Tyler, 1950) 2)การตัดสินผลลัพท์ อันเกิดจากกิจกรรมบางอย่างที่มุ่งให้บรรลุเป้าหมายที่มีคุณค่าบางประการ (Suchman, 1967) 3)การประเมินโครงการเป็นกระบวนการในการกำหนดจัดหา และการเสนอสารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจเลือกทางเลือกดำเนินงานที่เหมาะสม (Stuffle Beam, 1971)

  18. MCJ:องค์ประกอบสำคัญของการประเมินผลMCJ:องค์ประกอบสำคัญของการประเมินผล Measurement : เป็นกระบวนการกำหนดสถานภาพ และจำนวนและพรรณนาตัวเลขที่มีความถูกต้องเป็นรูปภาพ Comparison : นำผลที่วัดมาเปรียบเทียบกันเพื่อการตัดสิน ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ Judgment : การตัดสิน : เป็นการกำหนดคุณค่า เช่น โครงการนั้นมีประโยชน์และเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อบุคคลใดหรือไม่

  19. ตัวอย่างรูปแบบการประเมินตัวอย่างรูปแบบการประเมิน 1) แบบจำลองของไทเลอร์ (R.W. Tyler) Triple Ps Model ต้องวิเคราะห์ทั้ง 3 ส่วนดังนี้ P-Philosophy & Purpose P-Process P-Product 2) แบบจำลองชิป (CIPP) ของ Stufflebeam ประกอบด้วย 4 ส่วนดังนี้ C-Context สภาวะแวดล้อม I-Input P-Process P-Product

  20. แบบ จำลองในการประเมินโครงการ จัดกลุ่มโดยอาศัยลักษณะพฤติกรรมการประเมินเป 3 แบบใหญ่ คือ • แบบจำลองที่ยึดจุดหมายเป็นหลัก • แบบจำลองการตัดสินคุณค่า • แบบจำลองที่ช่วยการตัดสินใจ

  21. แบบ จำลองที่ยึดจุดมุ่งหมายเป็นหลัก • มุ่งเน้นจุดมุ่งหมาย เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์เป็นหลัก ได้แก่ แบบจำลองของไทเลอร์ • บางกลุ่มยึดทั้งจุดมุ่งหมายและผลข้างเคียงเป็นหลัก ได้แก่ แบบจำลองของครอนบาค และ สคริพเวน

  22. แบบ จำลองการตัดสินคุณค่า • อาศัยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญ • อาศัยเกณฑ์ภายในและเกณฑ์ภายนอก โดย • เกณฑ์ภายใน ได้แก่ กระบวนการต่าง ๆ ที่จะช่วยให้วัตถุประสงค์บรรลุ • เกณฑ์ภายนอก ได้แก่ ผลของการบรรลุวัตถุประสงค์ • ได้แก่ แบบจำลองของสเตก และ ของโปรวัส

  23. แบบ จำลองที่ช่วยการตัดสินใจ • สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร • ได้แก่ แบบจำลองของเวสซ์ แบบจำลองซิป ของ แดเนียล แอล สตัฟเฟลบีม แบบจำลองของแอลคิน และ แบบจำลองของแฮมมอนด์ เป็นต้น

  24. แนวความคิด ของ Stake ในการประเมิน • เป็นการนำสิ่งที่เป็นนามธรรมออกมาให้เป็นรูปธรรมชัดเจน • สร้างรูปแบบการประเมินที่มีระบบ (Systematic) • คำนึงถึงความต้องการสารสนเทศที่แตกต่างกันของบุคคลหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับโครงการในการประเมินโครงการ เพื่อนำมาประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ

  25. สิ่งนำ ปฏิบัติการ ผลลัพธ์ รูป แบบการประเมิน ของ Stake • แบบจำลองการสนับสนุน (Countenance Model) สิ่งที่เป็นจริง มาตรฐาน การตัดสิน ความคาดหวัง เมตริกบรรยาย เมตริกตัดสินคุณค่า

  26. ประเภทของการตัดสินใจ ประเภทของการประเมิน การประเมินสภาวะแวดล้อม การตัดสินใจเลือกวัตถุประสงค์ การประเมินปัจจัยเบื้องต้น เลือกแบบการจัดแผนงานที่เหมาะสมที่สุด การประเมินกระบวนการ การนำแผนงานที่วางไว้ไปปฏิบัติ ควรปรับปรุงอะไรบ้าง การประเมินผลผลิต ควรปรับปรุงขยายแผนงานหรือควรล้ม ความ สัมพันธ์ระหว่างการประเมิน กับการตัดสินใจในแบบจำลองCIPP

  27. การ ประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation : I) • เป็นการประเมินเพื่อใช้ข้อมูลตัดสินใจปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการว่า เหมาะสมหรือไม่ โดยดูว่าปัจจัยที่ใช้จะมีส่วนช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้หรือไม่ เป็นการตรวจสอบคำถามที่สำคัญ เช่น • - บุคลากรตามโครงการ มีความเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด • - ด้านวัสดุอุปกรณ์มีความเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด • - ด้านงบประมาณมีความเพียงพอหรือไม่ เพียงใด • ฯลฯ

  28. การ ประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P) เป็นการประเมินระหว่างการดำเนินงานโครงการเพื่อหาข้อดีและข้อบกพร่องของการดำเนินงานตามขั้นตอน ต่าง ๆ ของโครงการที่กำหนดไว้ และเป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถามที่สำคัญ เช่น - การปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้หรือไม่ กิจกรรมใดปฏิบัติได้หรือไม่ได้เพราะเหตุใด - เกิดปัญหาอุปสรรคใดบ้าง ฯลฯ

  29. การ ประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P) เป็นการประเมินเพื่อดูว่าผลที่เกิดขึ้น เมื่อสิ้นสุดโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือตามที่คาดหวังไว้หรือไม่ ซึ่งเป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถามที่สำคัญ เช่น - เกิดผล/ได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือไม่ -คุณภาพของผลผลิตเป็นอย่างไร ฯลฯ

  30. เป็นการประเมินเพื่อดูผลที่เกิดขึ้นในระยะยาว หรือระยะหนึ่ง หลังจากที่โครงการนั้น ๆ ได้สิ้นสุดลงแล้ว โดยครอบคลุมถึงผลที่โครงการตั้งใจจะให้เกิดขึ้น และผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดคิดมาก่อนด้วย ซึ่งเป็นการตรวจสอบเพื่อตอบคำถามที่สำคัญ เช่น -โครงการดังกล่าวส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านพฤติกรรมของผู้เข้ารับการอบรมอย่างไรบ้าง -โครงการดังกล่าวส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านผลการพัฒนาของงานอย่างไรบ้าง ฯลฯ การประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation : I)

  31. กรอบแนวทางในการประเมินผลกรอบแนวทางในการประเมินผล วัด เปรียบเทียบ ตัดสิน แนวทาง ( Approach) เชิงความเชื่อมโยง หรือเชิงระบบ (System Approach) เชิงคุณภาพหรือ การต่อยอดข้อมูล (Actor Approach) เชิงปริมาณหรือ เชิงวิเคราะห์ (Analytical Approach) Resources, Relation, Result

  32. การเตรียมตัวก่อนการประเมินการเตรียมตัวก่อนการประเมิน 1. ตัวแปรที่จะประเมิน ประเมินอะไรบ้าง 2. จุดมุ่งหมายของการประเมินจะประเมินเรื่องใด มีขอบข่ายประเมินกว้างขวางมากน้อยเพียงใด 3. วิธีการประเมิน 4. การรวบรวมข้อมูล 5. เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล 6. เกณฑ์ หรือมาตรฐานที่ใช้ตัดสินความสำเร็จของโครงการ โดยปกติจะใช้วัตถุประสงค์เป็นเกณฑ์ว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

  33. Empowerment Evaluation: EE “EE is the use of evaluation concept, techniques and finding to foster improvement and self determination” (Fetterman et al, 1991) “..Perhaps what distinguishes EE most clearly from its predecessors is its acknowledgement and deep respect for people’s capacity to create knowledge about, solution to their experiences” (American Evaluation Association, 2005)

  34. จริยธรรมหลักการประเมินของ UNEG Intentionality of Evaluation (Utility, Necessity) Obligations of Evaluation (Independence, Impartiality, Credibility, Conflict of Interest, Honesty and Integrity, Accountability) Obligations to Participants (Respect for Dignity and Diversity, Rights, Confidentiality, Avoidance of Harm) Evaluation Process and Product (Accuracy, Completeness and Reliability, Transparency, Reporting, Omission and wrongdoing) (Ethical Guidelines for Evaluation :United Nation Evaluation Group: 2007)

  35. ารเก็บรวบรวมข้อมูล 4 ประเด็นสำคัญ คือ • เป้าหมาย (Goals) • สิ่งที่เกิดขึ้นจริง (Observations) • ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ (Indicators) • การตัดสิน (Judgement)

  36. ความหมายของตัวชี้วัด “ตัวชี้วัด” หมายถึง สารสนเทศที่เป็นตัวเลขที่บอกจำนวนปัจจัยนำเข้า ผลผลิต และผล การดำเนินการของกระบวนการ ผลผลิต บริการ และผลการดำเนินการของส่วนราชการโดยรวม ตัวชี้วัดอาจเป็นแบบง่าย ๆ ที่ได้จากการวัดแต่ละครั้ง หรือแบบหลายตัวประกอบกัน • ตัวชี้วัด (Indicator) = ตัวชี้หนึ่งตัว + ตัววัด (มีหน่วยวัด) • เครื่องชี้วัด (Indicators) = ตัวชี้หลายตัว + ตัวชี้วัด • ดัชนีชี้วัด (Index) = ตัวชี้หลายตัวที่มีหน่วยวัดต่างกันและต้องนำมาคำนวณ • เพื่อใช้บ่งชี้สถานะสิ่งที่จะวัด • กลุ่มตัวชี้วัด (Indices) = ดัชนีชี้วัดหลายตัวที่ใช้บ่งชี้สถานะของสิ่งที่จะวัด

  37. มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 7. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมีเป้าหมาย 3. มีประสิทธภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ 6. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ 4. ไม่มีขั้นตอน การปฏิบัติงานเกินความจำเป็น 5. มีการปรับปรุง ภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์

  38. ตัวอย่างความหมายคำสำคัญตามกรอบPMQAตัวอย่างความหมายคำสำคัญตามกรอบPMQA • “ผลการดำเนินการ”หมายถึง ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ที่ได้จากกระบวนการ ผลผลิตและบริการ ซึ่งทำให้สามารถประเมินและเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ มาตรฐาน ผลลัพธ์ที่ผ่านมา และองค์กรอื่นๆ ผลการดำเนินการอาจแสดงในรูปแบบการเงินและที่ไม่ใช่การเงิน • “ผลลัพธ์”หมายถึง ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ของส่วนราชการ ที่ได้จากการดำเนินการตามข้อกำหนดของหัวข้อในเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • “ประสิทธิผล”หมายถึง ระดับความสามารถที่กระบวนการหรือตัวชี้วัดใด ๆ สามารถ ตอบสนองจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ •  “เป้าประสงค์”หมายถึง สภาพในอนาคตหรือระดับผลการดำเนินการที่ต้องการบรรลุ เป้าประสงค์ เป็นได้ทั้งระยะสั้นและระยะยาว เป้าประสงค์เป็นจุดหมายปลายทางที่ชี้นำการปฏิบัติการ

  39. สาระจาก พรฎ.ว่าด้วย GGในแบบจำลอง CIPP Context คือ............. Input คือ... Output คือ.... Outcome คือ.... Result คือ.... Process คือ.... OFI

More Related