1 / 33

สุธรรม อุมาแสงทองกุล Sutham_uma@hotmail มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ม.ค. 2555

การควบคุมทางบรรณานุกรมในไทย : กรณีศึกษา ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ / วิจัยบรรณารักษศาสตร์. สุธรรม อุมาแสงทองกุล Sutham_uma@hotmail.com มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ม.ค. 2555. นรกของบรรณารักษ์ หนังสือไม่ได้ถูกจัดเป็นระเบียบ. การควบคุมทางบรรณานุกรม หลัก LIS ; Google (น้ำ ).

Download Presentation

สุธรรม อุมาแสงทองกุล Sutham_uma@hotmail มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ม.ค. 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การควบคุมทางบรรณานุกรมในไทย : กรณีศึกษา ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์/วิจัยบรรณารักษศาสตร์ สุธรรม อุมาแสงทองกุล Sutham_uma@hotmail.com มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ม.ค. 2555

  2. นรกของบรรณารักษ์ หนังสือไม่ได้ถูกจัดเป็นระเบียบ

  3. การควบคุมทางบรรณานุกรม หลัก LIS ; Google (น้ำ)

  4. การควบคุมทางบรรณานุกรม หลัก LIS ;Google (น้ำฝน)

  5. การควบคุมทางบรรณานุกรมการควบคุมทางบรรณานุกรม (Bibliographic control) การมีอำนาจเหนือ ในลักษณะ รวบรวม จัดระบบ สืบค้นได้ Recall / Precision / Effort (1) การรวบรวมบรรณานุกรม (2) มีตัวแทนสาระ (ข้อมูลบรรณานุกรมบทคัดย่อ สารบาญ) (3) การทำ/มีดัชนี (เครื่องชี้ไปยังข้อมูล) (4) การบริการบรรณานุกรม (5) อื่นๆ เช่น สหบรรณานุกรม นามานุกรม บริการแปลฯลฯ

  6. ที่มา [ทางการ] ความเป็นมาของการวิจัย ความสำคัญของงานวิจัย/วิทยานิพนธ์ (ผลงานความรู้ พัฒนาชาติ) ความสำคัญของการควบคุมทางบรรณานุกรม (การจัดระบบความรู้ การเข้าถึงความรู้)

  7. ที่มา[เบื้องหลัง] ของการวิจัย รวบรวมข้อมูล/ทำฐาน สนุกๆ --> ได้ความรู้เรื่องควบคุมบรรณานุกรม

  8. วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการควบคุมทางบรรณานุกรม เน้นดรรชนี = ศาสตร์ LIS 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการค้นคืนวิทยานิพนธ์ = ประเมิน Lib 3. เพื่อสร้างฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์/วิจัยบรรณฯ = ผลงาน LIS

  9. วิธีดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาเอกสาร [หาแนวคิด + ทุนเดิมมาต่อยอด] 2. ออกแบบการเก็บข้อมูล [แหล่งเก็บ, คำและวิธีค้นข้อมูล] 3. เก็บข้อมูล [ค้น OPACs] 4. วิเคราะห์ข้อมูล [ดรรชนีค้นวิทยานิพนธ์ ; ประเมินฐานข้อมูล] 5. บก. / จัดกระทำข้อมูล[แปลงผัน ; แก้ไข ;Re-index/Catalog] 6. จัดทำฐานข้อมูล [โครงสร้างฐาน ; เผยแพร่]

  10. ทางเลือก ในการเก็บข้อมูลวิทยานิพนธ์/วิจัย • 1. หนังสือรวมวิทยานิพนธ์/วิจัยที่มีผู้ทำไว้ • 2. ฐานข้อมูล วิทยานิพนธ์ไทย (TIAC) • 3. Union Catalog ; Digital Collection สกอ. • 4. ฐานข้อมูลสภาวิจัยแห่งชาติ • 5. หนังสือรวมวิทยานิพนธ์/วิจัย แต่ละมหาวิทยาลัย ; บัณฑิตวิทยาลัย • 6. ฐานข้อมูลคอลเลคชันวิจัย/วิทยานิพนธ์ แต่ละ ม. [? ความสมบูรณ์] • 7. เว็บไซต์ภาควิชา ติดต่อภาควิชา สื่อเผยแพร่ เช่น วารสารวิชาการ • 8. ฐานข้อมูลห้องสมุดแต่ละแห่ง • 9. อื่นๆ เช่น เอกสารการสัมมนา/ประชุมวิชาการประจำปี คำถาม จะเลือก ? --> ตอบ …….

  11. เลือกค้นจาก OPACs หลัก ; e-theses ; UC

  12. การสืบค้น OPAC วิทยานิพนธ์ตามสาขาวิชา ดรรชนีเพื่อสืบค้นตามสาขาวิชาโดยตรง กรณี OPAC ห้องสมุดต่างๆ คือ ………? ไม่มี

  13. วิธีค้น OPAC วพ. ตาม สาขาวิชา ... ที่พอใช้ได้ 1. คำสำคัญ บรรณารักษศาสตร์ and วิจัย Tag 653, 245, 502, 650, ฯลฯ 2. หัวเรื่อง บรรณารักษศาสตร์--วิจัย Tag 650 3. ผู้แต่งสถาบัน ชื่อ ม. ภาควิชาบรรณฯ Tag 710

  14. วิธีค้น OPAC วิทยานิพนธ์ตามสาขาวิชา 1. คำสำคัญ จะใช้คำใด ; ขยะมาก ; Recall? ; กรอง วพ. 2. หัวเรื่อง จะใช้คำใด ; ไม่มีคำคุม วพ ; กรอง วพ 3. ผู้แต่ง ม. รูปคำเดายาก ; บางแห่งไม่ใช้ / ลงไม่ครบ

  15. ดีที่สุด = การสืบค้นชื่อผู้แต่ง. ชื่อสาขาวิชา 6/10 แห่ง 1. ม. กุ๊กไก่. ภาควิชาบรรณ 2. ม. กุ๊กไก่. ภาคบรรณ 3. ม. กุ๊กไก่. สาขาวิชาบรรณ 4. ม. กุ๊กไก่. สาขาบรรณ 5. ม. กุ๊กไก่. คณะมนุษย. ภาควิชาบรรณ 6. ม. กุ๊กไก่. บัณฑิตวิทยาลัย.สาขาวิชาบรรณ 7. ม. กุ๊กไก่. แขนงวิชาบรรณ

  16. ดรรชนี กับ การค้นคืน+รวบรวมข้อมูล ดูเหมือนง่าย แต่ไม่ง่าย (ง่าย ถ้าทำในระดับหน่วยงาน ; ยาก เมื่อทำทั่วประเทศ ไม่มีแหล่งกลาง ; ไม่เช่นนั้น คงมีผลงานรวบรวมจำนวนมาก) 0. ใช้หลากหลายวิธีการ ตาม OPAC แต่ละแห่ง 1. ใช้ดรรชนีตามสาขาวิชารวมเบื้องต้นจาก OPAC แต่ละแห่ง 2. ใช้ดรรชนีต่างๆ รวมให้ได้มากที่สุด ด้วย access points ; ไล่เรียง 3. รวบรวมจากแหล่งอื่นๆ เช่น สหบรรณานุกรม สภาวิจัย TDC และอื่นๆ

  17. วิเคราะห์ข้อมูล -> ผลการวิจัย คนพิการ การควบคุมทางบรรณานุกรม สรุปคือ ……..……. - ขาดแหล่ง/ศูนย์กลาง ที่แท้จริง เพื่อจะได้ไม่ต้องไปหลายแห่ง/หลายวิธี - ขาดดรรชนีที่จะดึงข้อมูลตามสาขาวิชา (ยกเว้นระบบ TDC) ถ้าดึงได้ ก็จะไม่ครอบคลุมผลงานเกี่ยวข้อง ที่อยู่ต่างสาขา - แต่ละห้องสมุด ใช้ดรรชนีและเครื่องมือแตกต่างกันมาก - แต่ละแห่งลงรายการข้อมูลละเอียดต่างกัน Tag ต่างกัน หัวเรื่องต่างกัน ; แต่ละแห่งลงข้อมูลไม่มีความสม่ำเสมอ-ต่อเนื่อง ; ต้อง Re-catalog - การทดสอบประสิทธิภาพการดึงข้อมูล (Recall) ผลค่อนข้างต่ำ

  18. (วปส.1) ดรรชนีที่ใช้ควบคุมทางบรรณานุกรม วพ. เครื่องมือที่มีอยู่ใช้ไม่ได้ 502 หมายเหตุวิทยานิพนธ์ บ้างไม่ลงสาขา, ไม่ใช่ Authority, Index tag 650 หัวเรื่อง วิทยานิพนธ์ --วิทยานิพนธ์ ตามหลังหน่วยงาน 650 หัวเรื่อง วิจัย --วิจัย ใช้แง่วิธีวิทยา 710/650 หน่วยงาน มหาวิทยาลัย. ชื่อหน่วยงาน(ภาควิชา/ห้องสมุด) ที่ยาก 653 คำสำคัญ (มาจาก tag ต่างๆ … GIGO Garbage In Garbage Out)

  19. ปัญหาดรรชนีเพื่อการควบคุมฯ 9 ข้อ 1. ช่องทางสืบค้นต่างกัน 2. แบบแผนลงรายการต่างกัน 3. เขตข้อมูล (tag) ต่างกัน 4. ค่าข้อมูล (คำ) ที่บันทึกต่างกัน 5. ดรรชนีที่ห้องสมุดใช้เฉพาะแห่ง (Local) ไม่เป็นมาตรฐาน 6. การใช้ลักษณะหัวเรื่องหลัก -- หัวเรื่องย่อย ผิดกฎเกณฑ์ 7. ดรรชนีที่กำหนดใช้ ไม่มีความชี้เฉพาะเพียงพอ 8. ขาดเครื่องมือช่วยให้ผู้ใช้สืบค้นดรรชนีดังกล่าวได้สะดวก 9. โปรแกรม OPAC ทำงานผิดพลาด

  20. ข้อเสนอแนะ ดรรชนีหัวเรื่องเพื่อการควบคุมฯ 650 รายงานการวิจัย/เอกสารวิทยานิพนธ์ — [แบ่งตามสาขาวิชา] เช่น รายงานการวิจัย -- บรรณารักษศาสตร์ รายงานการวิจัย -- บรรพชีวินวิทยา รายงานการวิจัย -- บริการสังคม ฯลฯ 650 [สาขาวิชา] -- รายงานการวิจัย/เอกสารวิทยานิพนธ์ เช่น บรรณารักษศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน บรรณารักษศาสตร์ -- คู่มือ บรรณารักษศาสตร์ -- รายงานการวิจัย ฯลฯ

  21. (วปส.2) ประสิทธิภาพการค้นคืนข้อมูลกรณีวิทยานิพนธ์ตามสาขา

  22. ประสิทธิภาพการค้นคืนข้อมูล กรณีห้องสมุดต่างๆ C ค้นคืนค่า Coverage ห้องสมุดแต่ละแห่ง 10.04 - 100 % ค่าเฉลี่ย 64.00 % (แต่เป็นการค้นคืนหลายแห่ง หลายรูปแบบ OPAC และมักใช้ดรรชนีที่คาดเดาได้ยาก บางแห่งไม่มีดรรชนีช่วยค้น)

  23. ประสิทธิภาพการค้นคืนข้อมูล กรณีฐานข้อมูลกลาง F ค้นคืนค่า Coverage ฐานรวม TDC 46.18 % (ค้นที่เดียว มีช่องทางสาขาวิชา แต่มี Error, ช้า, ดัชนีอ่อน, ปัญหาสิทธิ)

  24. อภิปราย/ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับประสิทธิภาพฐานข้อมูล - ปัญหาคะแนนต่ำเป็นการศึกษาสาขาเดียว ควรศึกษาสาขาอื่นเพิ่ม - เป็นการสืบค้นเพียง “สาขาวิชา” ในช่วงแสวงหาหัวข้อ เมื่อต้องการละเอียด จะค้นหัวเรื่อง ซึ่งดรรชนีของห้องสมุด และโปรแกรม OPAC รองรับ ห้องสมุดต่างๆ การทำดรรชนีให้มีคุณภาพ ฐานข้อมูล TDC การจัดหาข้อมูลเข้าให้ทั่วถึงพอ พัฒนาคอลเลคชันในเชิงรุก ปรับปรุงระบบซอฟต์แวร์ให้มีเสถียรภาพ ประมวลผลเร็ว

  25. (วปส.3) LIS ฐานข้อมูลวิจัย/วิทยานิพนธ์บรรณฯ ทดลองใช้งาน http://202.28.109.101/elib/lis.htm [สไลด์ต่อไปนี้ สำรองกรณีระบบเสียและสาธิตจริงไม่ได้]

  26. คุณสมบัติฐานข้อมูลโดยสังเขปคุณสมบัติฐานข้อมูลโดยสังเขป รวบรวม 2509-ปัจจุบัน จำนวนวิทยานิพนธ์ 1,992 รายงานการวิจัย 1,066 รวมทั้งสิ้น 3,058 (สถิติเพิ่ม 1 เท่าตัวใน 5 ปี) วิทยานิพนธ์/วิจัยสาขาวิชาอื่น 6,285 บรรณานุกรม/ดรรชนี/นามานุกรม 2,398 สังเคราะห์งานวิจัย องค์ความรู้ 571 เว็บไซต์ที่มีฐานข้อมูลเพื่อศึกษา 362 รวมทั้งสิ้น 12,353 หัวเรื่องสาขาบรรณฯ ศัพท์สัมพันธ์ 410 ชุดคำ

  27. Browse_search แสดง Listing กรณี (1) ชื่อบุคคล

  28. Browse_search แสดง Listing กรณี (2) หัวเรื่อง

  29. แสดง Listing หัวเรื่องแบบศัพท์สัมพันธ์ หมายเหตุ ประยุกต์ใช้ศัพท์สัมพันธ์กับ Elib ซึ่งไม่รองรับงานนี้อย่างแท้จริง

  30. แสดง Listing กลุ่มของรายการผลลัพธ์

  31. แสดงรายละเอียดผลลัพธ์แต่ละรายการ (+ ตัวแทนสาระ/บทคัดย่อ)

  32. แสดงการโยง (Link) ไป (1) ตัวแทนสาระ (2) เอกสารฉบับเต็ม (3) เว็บ (4) อื่นๆ

  33. จบ ขอขอบพระคุณ

More Related