1 / 81

Sisaket Provincial Health Office

นิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2555. Sisaket Provincial Health Office. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายวิทยา บุรณศิริ E-mail:mp_wittaya@hotmail.com. Sisaket Provincial Health Office. การขับเคลื่อน นโยบายรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข

Download Presentation

Sisaket Provincial Health Office

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นิเทศงานสาธารณสุขผสมผสานนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2555 Sisaket Provincial Health Office

  2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายวิทยา บุรณศิริ E-mail:mp_wittaya@hotmail.com Sisaket Provincial Health Office

  3. การขับเคลื่อน นโยบายรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 16 ข้อ Sisaket Provincial Health Office

  4. 1.พัฒนางานสาธารณสุขตามแนวพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ เพื่อเทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุวงศ์ ทุกพระองค์ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว 2.โครงการ To Be Number One 3.โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ห่วงใยสุขภาพประชาชน 4.โครงการรากฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ Sisaket Provincial Health Office

  5. 2.เพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ทั่วถึง เป็นธรรม สร้างระบบบริหารจัดการที่มีเอกภาพ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.พัฒนาคุณภาพเครือข่ายการส่งต่อ 2.โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคยุคใหม่ Sisaket Provincial Health Office

  6. 3.เร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมาย3.เร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมาย เพื่อลดอัตราป่วย ตายและผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (พ.ศ.2554-2563) Sisaket Provincial Health Office

  7. 4.เร่งรัดดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ตลอดจนอาหารปลอดภัย โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการความปลอดภัยด้านอาหาร 2.โครงการแก้ไขปัญหาน้ำบริโภค อย่างบูรณาการ Sisaket Provincial Health Office

  8. 5.เตรียมความพร้อม พัฒนาระบบเฝ้าระวัง เตือนภัย การจัดการที่มีประสิทธิผล ทันการณ์ เมื่อเกิดภัยพิบัติ โรคระบาด และภัยสุขภาพ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการ เพื่อการเตรียมความพร้อมในการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย Sisaket Provincial Health Office

  9. 6.จัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มสตรี กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ รวมถึงกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะอื่นๆ เช่น แรงงานข้ามชาติ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด 2.โครงการป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน 3.โครงการ อย.น้อย “การสร้างสรรค์สุขภาพดี ผ่านเทคโนโลยี Social Media” Sisaket Provincial Health Office

  10. 7.สร้างแรงจูงใจและพัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขทุกคนโดยสนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. Sisaket Provincial Health Office

  11. 8.สร้างแรงจูงใจแก่บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ8.สร้างแรงจูงใจแก่บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ โดยปรับระบบค่าตอบแทนให้เหมาะสมและความก้าวหน้า ในวิชาชีพที่เป็นธรรม สร้างกลไกพัฒนาความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.Service Plan Sisaket Provincial Health Office

  12. 9.เพิ่มการลงทุนในระบบบริการทุกระดับ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน และอุปกรณ์การแพทย์ที่จำเป็น มุ่งเน้นการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.Service Plan 2.โครงการสนับสนุนการจัดบริการการแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3.โครงการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล Sisaket Provincial Health Office

  13. 10.ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทยและ10.ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกในระบบบริการ สาธารณสุขทุกระดับ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการส่งเสริมการใช้ การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก Sisaket Provincial Health Office

  14. 11.ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพนานาชาติ11.ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพนานาชาติ (Medical Huband Wellness) และระบบ โลจิสติกส์ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับ บริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาควบคุมกำกับ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ให้มีมาตรฐาน Sisaket Provincial Health Office

  15. 12.สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ12.สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชนในการจัดบริการสุขภาพ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการ ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน Sisaket Provincial Health Office

  16. 13.พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีคุณภาพ13.พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีคุณภาพ และบริการข้อมูลสุขภาพ สำหรับประชาชน กลุ่มเป้าหมายต่างๆ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการพัฒนาคลังข้อมูลด้านการแพทย์ และสุขภาพ(Data Center) ระดับจังหวัด Sisaket Provincial Health Office

  17. 14.พัฒนา ผลักดันและการบังคับใช้กฎหมาย ให้เอื้อประโยชน์ต่อการสนับสนุน การดำเนินงานด้านสาธารณสุข โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.ปรับปรุง กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข Sisaket Provincial Health Office

  18. 15.จัดตั้งศูนย์บำบัด ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ควบคุม ป้องกันการใช้สารตั้งต้นในการผลิต ยาเสพติดและเฝ้าระวังการแพร่ระบาด ของสารเสพติดชนิดใหม่ โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการดำเนินงานลดผู้เสพ/ผู้ติด ยาเสพติดเชิงรุก โดยเน้นระบบสมัครใจ “1 อำเภอ 1 ศูนย์ฟื้นฟู” รองรับยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด Sisaket Provincial Health Office

  19. 16.จัดให้มีสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพ16.จัดให้มีสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพ เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ประชาชน โครงการขับเคลื่อนนโยบาย 1.โครงการขับเคลื่อนประเด็นความรู้ สุขภาพจิต สู่ประชาชน การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้าง ศักยภาพของประชาชนไทย Sisaket Provincial Health Office

  20. นโยบายเน้นหนัก ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี2555 1.โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรคยุคใหม่ปี2555 2.Service Plan Sisaket Provincial Health Office

  21. 1.โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรคยุคใหม่ปี2555 “มีหมอใกล้บ้านใกล้ใจ มียาดีใช้เพียงพอ ไม่ต้องรอรักษานาน จัดการโรคเรื้อรัง Sisaket Provincial Health Office

  22. มีหมอใกล้บ้านใกล้ใจ -มีหมอประจำครอบครัวดูแลสุขภาพ ถึงบ้านครบทุกครัวเรือนทั่วประเทศ 20 ล้านครัวเรือน ภายในปี 2557 -ปี2555 ครอบคลุมร้อยละ 60 จำนวน 12 ล้านครัวเรือน -ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จะได้รับบริการที่ รพ.สต.ใกล้บ้าน Sisaket Provincial Health Office

  23. มียาดีใช้เพียงพอ -มียาดีรักษาแล้วหายจากโรค ทั้งยารักษาโรคทั่วไป และยาที่มีราคาสูง ทุกสิทธิไม่แตกต่างกัน -เพิ่มทางเลือกด้วยแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือกอื่น Sisaket Provincial Health Office

  24. ไม่ต้องรอรักษานาน -ผู้ป่วยนอกจะได้รับบริการ ภายใน 2 ชม. 50 นาที ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -มีช่องทางพิเศษผู้สูงอายุ พระภิกษุ -ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มะเร็ง หัวใจ ต้อกระจก รอคิวรักษา ผ่าตัด ไม่เกิน 3 เดือน -มีระบบเทคโนโลยีเชื่อมโยงข้อมูล บริการระหว่างสถานพยาบาล Sisaket Provincial Health Office

  25. จัดการโรคเรื้อรัง -ร้อยละ 80 ของประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรอง ค้นหา เบาหวาน ความดันโลหิตสูง -เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง และการสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น Sisaket Provincial Health Office

  26. การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan)

  27. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประสานสอดรับ และเชื่อมโยงกัน 1 ขยายความครอบคลุม พัฒนาขีดความสามารถการบริการให้สอดรับกับความต้องการของประชาชนและพื้นที่ 2 มุ่งพัฒนาระบบบริการทุกระดับ และพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง 3 เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภายในจังหวัด เขต และประเทศ สนับสนุนให้ดำเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริการ 4 6 การสนับสนุนทรัพยากร สอดคล้องกับแผนพัฒนา ระบบริการสุขภาพ 5 วัตถุประสงค์

  28. พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ 1 จัดทำแผนร่วมกันทั้งระดับเขต/จังหวัด/สถานบริการ และเชื่อมโยงบริการทุกระดับ 2 เน้นการลดความแออัด ลดเวลารอคอยของผู้รับบริการ 3 เกิดจากความยินยอมพร้อมใจกันทุกฝ่าย 4 ต้องไม่กระทบต่อคุณภาพบริการและความรู้สึกของประชาชนผู้รับบริการ 5 นโยบาย / เป้าหมายการจัดทำ Service Plan

  29. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบ่งเป็น 3 ส่วน 1.แผนพัฒนาโครงสร้าง 2.แผนสนับสนุนทรัพยากร 3.แผนพัฒนาคุณภาพ

  30. 1.แผนพัฒนาโครงสร้างสถานบริการสุขภาพ@มีการปรับโครงสร้าง สถานบริการระดับต่างๆ

  31. เครือข่ายบริการระดับจังหวัด(Provincial Health Service Network) Level Referral Advance รพศ. High level Standard รพท. รพท.ขนาดเล็ก M1 Mid level รพช.ขนาดใหญ่ M2 First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2

  32. เปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับตติยภูมิเปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับตติยภูมิ

  33. เปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับทุติยภูมิเปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับทุติยภูมิ

  34. เปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับปฐมภูมิเปรียบเทียบการจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขในระบบเครือข่ายระหว่างกรอบเดิมและกรอบใหม่ระดับปฐมภูมิ

  35. ผลการจัดระดับสถานบริการ ตามService plan จังหวัดศรีสะเกษ

  36. โครงสร้างสถานบริการระดับปฐมภูมิโครงสร้างสถานบริการระดับปฐมภูมิ P2 P1 -เป็นสถานบริการระดับปฐมภูมิ ให้บริการ แบบผสมผสาน -ศักยภาพระดับพยาบาล เวชปฏิบัติ • เป็นสถานบริการผู้ป่วยนอกแบบเบ็ดเสร็จ • ให้บริการแบบผสมผสานทั้งส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู • ศักยภาพระดับเวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว รพ.สต. 254 แห่ง ศสม. 8 แห่ง

  37. โครงสร้างสถานบริการระดับทุติยภูมิโครงสร้างสถานบริการระดับทุติยภูมิ F3 F2 -เป็นรพช.ขนาดเล็กรองรับผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน เพื่อสังเกตอาการ/ส่งต่อ -สนับสนุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิของแต่ละอำเภอ -ศักยภาพระดับเวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว • -เป็นรพช.รองรับผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของแต่ละอำเภอ • สนับสนุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิของแต่ละอำเภอ • ศักยภาพระดับเวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว รพช.30 เตียงใหม่ (พยุห์/โพธิ์ศรีฯ/ศิลาลาด) รพช.ขนาดกลาง 13 แห่ง (บล/ศน/นค/ปก/ภส/ยน/กร/พบ/วห/นก/มจ/บบ/หท)

  38. โครงสร้างสถานบริการระดับทุติยภูมิโครงสร้างสถานบริการระดับทุติยภูมิ F1 M2 -เป็นรพช.ที่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญบางสาขา -สนับสนุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิของแต่ละอำเภอ -ความเชี่ยวชาญบางสาขาเท่านั้น -ศักยภาพระดับเวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว • -เป็นรพช.ที่มีศักยภาพสูงเพื่อรองรับผู้ป่วยส่งต่อจากรพช.ใกล้เคียง • -สนับสนุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิของแต่ละอำเภอ • -ความเชี่ยวชาญสาขาหลัก • ครบ 6 สาขา • ศักยภาพระดับเวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว รพช.ขนาดใหญ่ 2 แห่ง (ขุนหาญ/ราษีไศล) รพช.แม่ข่าย 3 แห่ง (กันทรลักษ์/ขุขันธ์/อุทุมพรพิสัย)

  39. โครงสร้างสถานบริการระดับตติยภูมิโครงสร้างสถานบริการระดับตติยภูมิ S (Standard-level Referal Hospital) -เป็นรพท.ที่สามารถรองรับผู้ป่วยส่งต่อภายในเครือข่ายบริการระดับจังหวัด -ความเชี่ยวชาญในสาขารอง ครบทุกสาขา รพ.ศรีสะเกษ

  40. 1. แผนลงทุน 2. แผนบุคลากร ที่ดิน อาคาร สิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ทางการแพทย์ การสรรหา การผลิต การกระจาย และการพัฒนาบุคลากร 2.แผนสนับสนุนทรัพยากร

  41. 1.สสจ.ศก./สสอ.ทุกแห่ง พัฒนาคุณภาพตาม PMQA 2.รพ.ทุกแห่ง พัฒนาคุณภาพตาม HA และมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ฯ(LAB) 3.หน่วยบริการปฐมภูมิ/รพ.สต. พัฒนาคุณภาพตามPCA 3.แผนพัฒนาคุณภาพบริการ

  42. การจัดสรรเงิน UC ปี 2555

  43. 1.รายรับที่จังหวัดได้รับหลังหักเงินเดือน1.รายรับที่จังหวัดได้รับหลังหักเงินเดือน

  44. จำนวนเงินที่กันระดับจังหวัด ปี 2555 1. Rabies Vaccine = 2,019,600 บาท 2. ลูกจ้าง นร.ทุน จบเมย.55 = 5,077,971 บาท 3. ลูกจ้าง สสอ. = 1,485,792 บาท 4. ลูกจ้าง สอ. = 5,883,937 บาท 5. สนับสนุน สสอ. = 6,000,000 บาท 7. พบส.โซน = 1,600,000 บาท 8. กองทุนไต = 5,000,000 บาท 9. PP ระดับจังหวัด = 8,029,517 บาท 10. ตามจ่าย OP=80,000,000 บาท รวม 115,096,851 บาท

  45. จัดสรรเงินให้หน่วยบริการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการ

  46. จัดสรรเงินให้หน่วยบริการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการ

  47. จัดสรรเงินให้หน่วยบริการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการ

  48. จัดสรรเงินให้หน่วยบริการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการ หมายเหตุ 1. เงิน OPD รวมเงินที่เหลือตามจ่ายปี 2554 แล้ว 2. เงิน IPD ในเขต รวมเงินเดือนนร.ทุนปี 2548-2554 3. เงินเดือน นร.ทุน จบเมย.2555 อยู่ที่เงินกันจังหวัด 4. เงินรายหมวดให้ยึดข้อมูลที่จังหวัดจัดสรร

  49. 2.ขอรับงบ ONTOP

More Related