1 / 59

การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 ( PDP 2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 )

การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 ( PDP 2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ). ณ สโมสรทหารบก ห้องเทวกรรมรังรักษ์ ชั้น 2 ถนนวิภาวดี-รังสิต กรุงเทพฯ 11 กุมภาพันธ์ 2552. เนื้อหาในการนำเสนอ. ขั้นตอนการจัดทำแผนฯ ข้อมูลระบบไฟฟ้าในปัจจุบัน

kalei
Download Presentation

การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 ( PDP 2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 (PDP 2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) ณ สโมสรทหารบก ห้องเทวกรรมรังรักษ์ ชั้น 2 ถนนวิภาวดี-รังสิต กรุงเทพฯ 11 กุมภาพันธ์ 2552

  2. เนื้อหาในการนำเสนอ • ขั้นตอนการจัดทำแผนฯ • ข้อมูลระบบไฟฟ้าในปัจจุบัน • พยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า • ประเด็นปรับปรุงแผนฯ • แผนPDP2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่2 • เปรียบเทียบแผนฯ

  3. 1. ขั้นตอนการจัดทำแผนฯ

  4. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าคืออะไรแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าคืออะไร แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า คือ แผนการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ เพื่อให้มีกำลังผลิตเพิ่มขึ้นในระบบไฟฟ้า ในเวลาที่เหมาะสม เพื่อสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นให้เพียงพอสำหรับอนาคต 10-15 ปี ข้างหน้า

  5. วัตถุประสงค์ในการวางแผนวัตถุประสงค์ในการวางแผน • 1. เพื่อให้ได้แผนที่มีต้นทุนในการผลิตพลังงานไฟฟ้าต่ำสุด • เพื่อให้การผลิตพลังงานไฟฟ้ามีคุณภาพและระบบไฟฟ้ามีความมั่นคงอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด จากผลการสำรวจความเสียหายทางเศรษฐกิจจากไฟฟ้าดับ เดือนธันวาคม 2551 พบว่า มูลค่าความเสียหายเฉลี่ยทั้งประเทศสูงสุด 58 บาทต่อหน่วย

  6. ข้อพิจารณาการวางแผนเพื่อต้นทุนต่ำสุดในการผลิตไฟฟ้าข้อพิจารณาการวางแผนเพื่อต้นทุนต่ำสุดในการผลิตไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายรวม ค่าใช้จ่าย Outage Cost + Social Cost ค่าก่อสร้าง + ค่าเชื้อเพลิง + O&M กำลังผลิตสำรอง ค่าใช้จ่ายและความมั่นคงของระบบไฟฟ้า 6

  7. ข้อกำหนดเรื่องความมั่นคงข้อกำหนดเรื่องความมั่นคง • กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 15% • ตัวชี้วัดโอกาสไฟฟ้าดับ (Loss of Load Probability: LOLP) ไม่เกิน 24 ชั่วโมงต่อปี

  8. ระดับความมั่นคง (Reliability Level) • กำลังผลิตติดตั้ง (Installed Capacity) กำลังผลิตติดตั้ง หรือ กำลังผลิตที่ปรากฏอยู่บน Name Plate • Derated Capacity กำลังผลิตที่ลดลงของเครื่อง ซึ่งเครื่องไม่สามารถเดินได้เต็มกำลัง • กำลังผลิตพึ่งได้ (Dependable Capacity) กำลังผลิตพึ่งได้ เป็นกำลังผลิตที่ขึ้นอยู่กับสภาพของเครื่องหรือสภาวะแวดล้อม สำหรับโรงไฟฟ้าพลังน้ำกำหนดจากการศึกษาข้อมูลสถิติน้ำที่ไหลเข้าเขื่อน • กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง (Reserve Margin) (%) Dependable Capacity = Installed Capacity – Derated Capacity Reserve Margin =Total Dependable Capacity - Peak x 100Peak

  9. ระดับความมั่นคง (Reliability Level) Derated Capacity กำลังผลิตพึ่งได้ กำลังผลิตของเครื่องที่หยุดซ่อม(Maintenance Capacity) กำลังผลิตพร้อมจ่าย (Available Capacity) กำลังผลิตสำรองที่เดินเครื่องอยู่ในระบบ (Spinning Reserve or Operating Reserve) กำลังผลิตติดตั้ง ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (Peak MW) การใช้ไฟฟ้า จำนวนชั่วโมง

  10. ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ ผลการศึกษา เบื้องต้น นโยบาย Optimization โดย Computer Software “Strategist” ข้อมูลระบบไฟฟ้า พยากรณ์ ความต้องการไฟฟ้า ข้อมูลเชื้อเพลิง กระทรวงพลังงาน

  11. คณะอนุกรรมการการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าคณะอนุกรรมการการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า • ปลัดกระทรวงพลังงาน • (นาย พรชัยรุจิประภา)เป็นประธานอนุกรรมการ • ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน • (นาย วีระพลจิรประดิษฐกุล)เป็นรองประธานอนุกรรมการ • ผู้แทนจากส่วนราชการ และสถาบันวิจัย - สำนักนโยบายและแผนพลังงาน(ผู้อำนวยการส่วนไฟฟ้า) -สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ผู้อำนวยการสำนักวางแผนเศรษฐกิจมหภาค) - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาพลังงาน) -สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ผู้อำนวยการวิจัยด้านการพัฒนาเศรษฐกิจส่วนรวม และกระจายรายได้) • ผู้แทนจากผู้ผลิตไฟฟ้า - การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงาน) - การไฟฟ้านครหลวง(ผู้อำนวยการฝ่ายเศรษฐกิจพลังไฟฟ้า) - การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนระบบไฟฟ้า) -สมาคมผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน(นายกสมาคมผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน) • ผู้เชี่ยวชาญด้านการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า - นาย เทียนไชย จงพีร์เพียง - นาย วิชิต หล่อจิระชุณห์กุล • ผู้แทนจากผู้ใช้ไฟฟ้า -สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(รองประธานกรรมการบริหารสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม) -สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย(รองประธานในคณะกรรมการพลังงานหอการค้าไทย) • สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (ผู้อำนวยการส่วนไฟฟ้า)เป็น เลขานุการ จากคำสั่งคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน ที่ 6/2549 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549

  12. คณะทำงานจัดทำค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าคณะทำงานจัดทำค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า • ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน(นาย วีระพลจิรประดิษฐกุล) เป็นประธานคณะทำงาน • รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน • (นาย ชวลิตพิชาลัย)เป็นรองประธานคณะทำงาน • ผู้แทนจากส่วนราชการ - สำนักนโยบายและแผนพลังงาน(ผู้อำนวยการส่วนไฟฟ้า) - สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ) (ผู้อำนวยการสำนักวางแผนเศรษฐกิจมหภาค) - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาพลังงาน) • ผู้แทนจากผู้ผลิตไฟฟ้า - การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนระบบไฟฟ้า) - การไฟฟ้านครหลวง(ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายเศรษฐกิจพลังไฟฟ้า) - การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(ผู้อำนวยการกองแผนงานระบบไฟฟ้า) - สมาคมผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (นายกสมาคมผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน) • ผู้เชี่ยวชาญด้านการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า - นาย เทียนไชย จงพีร์เพียง • ผู้แทนจากหน่วยงานอิสระ - สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (ผู้เชียวชาญด้านวิชาการ) • ผู้แทนสำนักนโยบายและแผนพลังงานเป็นเลขานุการ จากคำสั่งคณะอนุกรรมการการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ที่ 1/2551 ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2551

  13. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน • 10 ธันวาคม 2550 :“พระราชบัญญัติ การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550” • 1 กุมภาพันธ์ 2551 : มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน (กกพ.) จำนวน 7 ราย • นายดิเรก ลาวัณย์ศิริ ประธานกรรมการ • นายชลิต เรืองวิเศษ กรรมการ • นายนภดล มัณฑะจิตร กรรมการ • นางพัลลภา เรืองรอง กรรมการ • นายจงเจตน์ บุญเกิด กรรมการ • นายทักษิณ ลิ่มสุวรรณ์ กรรมการ • นายศุภิชัย ตั้งใจตรง กรรมการ

  14. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) • องค์ประกอบ 1. นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ 2. รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย รองประธานกรรมการ 3. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีคนที่หนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย กรรมการ 4. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กรรมการ 5. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กรรมการ 6. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ 7. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ 8. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กรรมการ 9. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรรมการ10. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กรรมการ11. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ12. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กรรมการ13. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ14. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม กรรมการ15. ปลัดกระทรวงพลังงาน กรรมการ16. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ17. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ18. ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ19. ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรรมการและเลขานุการ

  15. 2. ข้อมูลระบบไฟฟ้าในปัจจุบัน

  16. กำลังผลิตแยกตามประเภทโรงไฟฟ้ากำลังผลิตแยกตามประเภทโรงไฟฟ้า กำลังผลิตติดตั้งรวม (ณ31 ธันวาคม 2551) 29,891.7 เมกะวัตต์ พลังความร้อนร่วม15,602.0 MW 52.2% พลังความร้อน8,965.6 MW 30.0% พลังน้ำ 3,424.2 MW 11.5% พลังงานทดแทน288.1 MW 0.9% กังหันแก๊สและเครื่องยนต์ดีเซล 971.4 MW 3.3% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% สปป. ลาว 340 MW 1.1% ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (21เมษายน 2551) 22,568.2 เมกะวัตต์

  17. กำลังผลิตแยกตามผู้ผลิตกำลังผลิตแยกตามผู้ผลิต กำลังผลิตติดตั้งรวม (ณ31 ธันวาคม 2551) 29,891.7 เมกะวัตต์ ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (21เมษายน 2551) 22,568.2 เมกะวัตต์ กฟผ.15,021.0 MW 50.3% IPP12,151.6 MW40.7% SPP2,079.1 MW7.0% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300 MW 1.0% สปป. ลาว 340 MW 1.1%

  18. การผลิตพลังงานไฟฟ้า ปี2551 (แบ่งตามประเภทเชื้อเพลิง) รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197ล้านหน่วย พลังงานทดแทน1.4% ถ่านหินนำเข้า8.2% น้ำมันเตา1.0% ก๊าซธรรมชาติ 70.0 % ลิกไนต์12.6% พลังน้ำ4.7% ดีเซล 0.2 % สปป. ลาว 1.6% มาเลเซีย 0.3 % 18

  19. การผลิตพลังงานไฟฟ้า ปี2551 (แบ่งตามผู้ผลิต) รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 148,197ล้านหน่วย กฟผ. 63,909 GWh 43 % IPP, SPP 81,497 GWh 55 % ซื้อต่างประเทศ 2,791 GWh 2 %

  20. การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ในระบบ กฟผ. 20

  21. การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPPในระบบ กฟผ. น้ำมันเตา9 MW0.4% ถ่านหิน370 MW 17.8% ก๊าซธรรมซาติ1,413 MW 68.0% น้ำมันยางดำ25 MW1.2% แกลบและเศษไม้169 MW 8.1% กากอ้อย84 MW 4.0% ทะลายปาล์ม9 MW0.4% (ณ วันที่ 31ธ.ค. 2551) SPP-Firm : กำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญา : 2,079 MW แกลบและเศษไม้5 MW2.5% น้ำมันเตา45 MW21.8% กากอ้อย82 MW 39.5% ก๊าซธรรมซาติ52 MW25.3% ก๊าซธรรมชาติที่เป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้ำมัน2 MW0.8% ถ่านหิน14 MW 6.8% SPP-Non Firm : กำลังผลิตไฟฟ้าตามสัญญา : 206 MW ขยะ1 MW 0.5% Waste Gas6 MW2.9% 21

  22. โครงการพลังงานทดแทนของ กฟผ. พลังน้ำขนาดเล็ก 78.70 เมกะวัตต์ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ 6.7 เมกะวัตต์ เขื่อนขุนด่านปราการชล 10.0 เมกะวัตต์ เขื่อนนเรศวร 8.0 เมกะวัตต์ เขื่อนแม่กลอง12.0 เมกะวัตต์ เขื่อนแควน้อย 30.0 เมกะวัตต์ เขื่อนเจ้าพระยา 12.0 เมกะวัตต์ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม เขื่อนสิรินธร 1.0 เมกะวัตต์ เขื่อนลำตะคอง 2.0 เมกะวัตต์

  23. 3. พยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า

  24. ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าในระบบของ กฟผ.(กรณีฐาน) ชุด ธันวาคม 2551

  25. ค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้าในระบบ ของ กฟผ. ล้านหน่วย กันยายน 50 ธันวาคม 51 กรณีฐาน

  26. ค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้าในระบบ ของ กฟผ. เมกะวัตต์ กันยายน 50 ธันวาคม 51 กรณีฐาน

  27. 4. ประเด็นปรับปรุงแผนฯ

  28. 1. ปรับปรุงค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าชุดใหม่ กรณีฐาน 2. ปรับปรุงกำหนดการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) 3. ปรับปรุงกำหนดการรับซื้อไฟฟ้าจากเอกชนรายใหญ่ (IPP) ออกไป 1 ปี (บ.สยามเอ็นเนยี่ 1-2 และ บ.เนชั่นแนล เพาเวอร์ ซัพพลาย 1-4 ) 4.ทบทวนการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน 5. ปรับเลื่อนโครงการโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ตามสภาพความต้องการใช้ไฟฟ้า และปรับลดกำลังการผลิตโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นปีละ 1,000 MW 6. กำหนดให้มีโรงไฟฟ้าใหม่ในระบบเพิ่มขึ้น (เนื่องจากซื้อต่างประเทศลดลง และ เพื่อเป็นการสร้างทดแทนโรงไฟฟ้าเก่าของ กฟผ. ที่ถูกปลดออกจากระบบ) 7. รักษากำลังผลิตไฟฟ้าสำรองในระดับไม่ต่ำกว่า 15% 8. กำหนดให้มีโรงไฟฟ้าใหม่ภาคใต้ หลังจากที่สัญญาของ รฟ.ขนอม จะหมดอายุปี 2559 เพื่อสนองนโยบายการผลิต LPG 9. ยกเลิกโครงการ Combined Heat and Power (CHP) 10. ปรับเพิ่มขนาดกำลังการผลิตโรงไฟฟ้าใหม่ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติจาก 700 MW เป็น 800 MW ประเด็นในการพิจารณาปรับปรุงแผน

  29. กำหนดการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็ก (SPP)

  30. กำหนดการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายใหญ่ (IPP)

  31. กำหนดการรับซื้อไฟฟ้าจาก ประเทศเพื่อนบ้าน

  32. การศึกษาความเหมาะสมการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าและความร้อนร่วม (CHP) ผลการศึกษา 1) กำลังผลิตไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ต่ำกว่าที่ประมาณการไว้ เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านเทคนิคของอุปกรณ์ และไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของโรงไฟฟ้าได้ 2) ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน จากค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงอุปกรณ์ต่างๆ

  33. กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง

  34. 5. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 (PDP2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่2)

  35. คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย เพื่อให้การปรับปรุงแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับนโยบายพลังงาน องค์ประกอบ 1. ปลัดกระทรวงพลังงาน ประธานกรรมการ 2. รองปลัดกระทรวงพลังงาน (นายณอคุณ สิทธิพงศ์)กรรมการ 3. กรรมการกำกับกิจการพลังงาน กรรมการ 4. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ กรรมการ และสังคมแห่งชาติ หรือผู้แทน 5. ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือผู้แทน กรรมการ 6. กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กรรมการ หรือผู้แทน 7. ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน หรือผู้แทน กรรมการและ เลขานุการ 8. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ

  36. ขั้นตอนขออนุมัติแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าขั้นตอนขออนุมัติแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า ฉบับปรับปรุง คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) กระทรวงพลังงาน คณะกรรมการ กำกับกิจการพลังงาน แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ คณะกรรมการพิจารณา ปรับปรุงแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย 36

  37. กระบวนการให้ความเห็นชอบแผนกระบวนการให้ความเห็นชอบแผน • เสนอที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 ม.ค. 2552 • เสนอที่ประชุมคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2552 • กพช. ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2551-2564 (PDP2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่2) เมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2552 • ครม. ในการประชุมเมื่อวันที่ 28 ม.ค.2552 มีมติมอบหมายให้ กพช. พิจารณาว่าการปรับปรุง PDP 2007: ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 นี้ มีความจำเป็นต้องรับฟังความคิดเห็นหรือไม่ และนำเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป

  38. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ( ปี 2552 - 2557)

  39. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ( ปี 2558 - 2564)

  40. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ( ปี 2558 - 2564)

  41. สัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิตสัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิต (PDP2007 : ฉบับปรับปรุงครั้งที่2)

  42. เปรียบเทียบกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองเปรียบเทียบกำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง

  43. สัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิงสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง ล้านหน่วย 5% 3% 2% 2% 10% 10% 9% 2% 9% 2% 8% 15% 2% 16% 7% 17% 3% 18% 7% 3% 6% 19% 6% 6% 15% 3% 7% 11% 6% 2% 7% 11% 2% 7% 7% 2% 8% 8% 10% 6% 5% 9% 10% 9% 9% 8% 8% 10% 11% 11% 11% 60% 63% 61% 62% 69% 68% 65% 61% 69% 73% 70% 69% 67% 4% 4% 4% 3% 3% 3% 3% 3% 3% 2% 2% 2% 2% ปี (PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2)

  44. สรุปสาระสำคัญ 1. ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ณ สิ้นปี 2564 - พลังไฟฟ้า (Peak) : 44,281 MW ลดลง 4,333 MW - พลังงานไฟฟ้า (Energy) : 288,920 GWhลดลง28,273 GWh 2. กำลังผลิตไฟฟ้าทั้งสิ้น ณ สิ้นปี 2564 - กำลังผลิตไฟฟ้า ณ สิ้นปี 2551 29,139.5MW - กำลังผลิตที่เพิ่มขึ้น 30,390.8 MW - กำลังผลิตที่ปลดออก -7,502.3 MW - รวมกำลังผลิตทั้งสิ้นถึงปี 2564 52,028.0 MW 3. กำลังผลิตโครงการโรงไฟฟ้าใหม่ในช่วงปี 2552- 2564 หน่วย : MW

  45. สรุปสาระสำคัญ (ต่อ) 4. ปลดโรงไฟฟ้า กฟผ. เร็วขึ้น เพื่อรักษาระดับกำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง ที่ไม่ต่ำกว่า 15% - รฟ. พระนครใต้ เครื่องที่ 4 – 5 (1 มกราคม 2552) - รฟ. ลานกระบือ เครื่องที่ 1 – 11 (1 มกราคม 2552) - รฟ. หนองจอก เครื่องที่ 1 – 3 (1 มกราคม 2552) - รฟ. สุราษฎร์ธานี เครื่องที่ 1 – 2 (1 มกราคม 2552) 5. ปรับเลื่อนโครงการโรงไฟฟ้าของ กฟผ. - โครงการ รฟ. วังน้อย ชุดที่ 4 จากปี 2555 เป็นปี 2557 - โครงการ รฟ. จะนะ ชุดที่ 2 จากปี 2556 เป็นปี 2557 - โครงการ รฟ. ถ่านหิน เครื่องที่ 1 จากปี 2558 และ 2559 - โครงการ รฟ. ถ่านหิน เครื่องที่ 3 จากปี 2559 และ 2560 6. ปรับลดกำลังผลิตไฟฟ้าโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในปี 2563 และปี 2564 เหลือ ปีละ 1,000 MW

  46. 5. เปรียบเทียบแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า PDP 2007 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 และ 2

  47. เปรียบเทียบสัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิตเปรียบเทียบสัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าแยกตามผู้ผลิต

  48. เปรียบเทียบกำลังผลิต โครงการโรงไฟฟ้าใหม่ในช่วงปี 2552- 2564 PDP 2007 Revision 1 หน่วย : MW PDP 2007 Revision 2 หน่วย : MW

  49. เปรียบเทียบสัดส่วนกำลังผลิต และโครงการที่ ก่อสร้างโดย กฟผ.(ปี 2552-2557)

  50. เปรียบเทียบสัดส่วนกำลังผลิต และโครงการที่ ก่อสร้างโดยเอกชน(ปี 2552-2557)

More Related