1 / 34

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2553

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2553. Teenage Pregnancy. สถานการณ์และสภาพปัญหา. ?. ?. ?. ?. แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบประวัติการเคยมีเพศสัมพันธ์ ของนักเรียนชายม. 2 ม.5 ,นักเรียนชายปวช.2 ปี 2541 - 2553. ร้อยละ. ปี. เส้นแนวโน้มชาย ม.5

Download Presentation

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2553 Teenage Pregnancy

  2. สถานการณ์และสภาพปัญหาสถานการณ์และสภาพปัญหา ? ? ? ?

  3. แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบประวัติการเคยมีเพศสัมพันธ์ ของนักเรียนชายม.2 ม.5 ,นักเรียนชายปวช.2 ปี 2541- 2553 ร้อยละ ปี เส้นแนวโน้มชาย ม.5 เส้นแนวโน้มชาย ปวช.2

  4. แผนภูมิที่ 2 เปรียบเทียบประวัติการเคยมีเพศสัมพันธ์ ของ นักเรียนหญิงม.2 ม.5 ,นักเรียนหญิงปวช. 2 ปี 2541 – 2553 ร้อยละ ปี เส้นแนวโน้มหญิง ม.5 เส้นแนวโน้มหญิง ปวช.2

  5. แผนภูมิที่ 3 แสดงร้อยละการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุดจำแนกตามประเภทคู่นอน ของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2547 - 2553 % ปี

  6. แผนภูมิที่ 4 แสดงร้อยละการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุดจำแนกตามประเภทคู่นอน ของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2547 - 2553 % ปี

  7. แผนภูมิที่ 5 แสดงร้อยละการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุดจำแนกตามประเภทคู่นอน ของนักเรียนชายชั้น ปวช.ปีที่ 2 จากการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2547 - 2553 % ปี

  8. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์อายุระหว่าง 15 – 24 ปี เทียบกับตั้งครรภ์ทั้งหมด เท่ากับ • หญิงตั้งครรภ์อายุระหว่าง 15 – 24 ปี ปี 2552 คิดเป็นร้อยละ 40.9 (6367/15852) และ อัตราการตั้งครรภ์กลุ่มที่อายุต่ำกว่า 20ปี คิดเป็นร้อยละ 21.8 ( 3456/15852) • อัตราการคลอดในหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคิดเป็นร้อยละ 23.3 ( 3602/15456) • หญิงตั้งครรภ์อายุระหว่าง 15 – 24 ปี ปี 2553 คิดเป็นร้อยละ 47.33 (4019/8491)และ อัตราการคลอดในหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.4 (1805/8844)

  9. อ.บ้านใหม่ฯ ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (15-24 ปี) 66.91% 66.39% อ.คูเมือง ปี 2552 (ต.ค.51-ก.ย.52) ปี 2553 (ต.ค.52-มิ.ย 53) 96.45% อ.นางรอง

  10. แผนภูมิที่ 6จำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุ 15-24 ปีปี 2550-2553 ร้อยละ ปี

  11. แผนภูมิที่ 7 เปรียบเทียบแนวโน้มหญิงตั้งครรภ์และหญิงคลอด ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี ตั้งแต่ปี 2549 - มิถุนายน2553 จังหวัดบุรีรัมย์ (ร้อยละ) ปี

  12. แผนภูมิที่ 8 อัตราป่วยด้วยโรคหนองใน กลุ่มอายุ (15-24 ปี) จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2550-2553 อัตราป่วย (ต่อประชากรแสนคน) ปี ที่มา : งานระบาดวิทยา สสจ.บุรีรัมย์

  13. สรุปการวิเคราะห์สภาพปัญหากลุ่มวัยเจริญพันธุ์ จังหวัดบุรีรัมย์ • นักเรียนชาย หญิง ชั้นม.2 ม.5และปวช. 2 มีแนวโน้มเคยมีเพศสัมพันธ์สูงขึ้น • มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกอายุน้อยลง • อัตราการใช้ถุงยางอนามัยครั้งล่าสุดต่ำ • ความรู้เรื่องการคุมกำเนิดไม่ชัดเจน • ความรู้และการวิเคราะห์พฤติกรรมที่ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ได้ส่วนใหญ่ไม่ชัดเจน • มีข้อสงสัยเกี่ยวกับเรื่องเพศที่อยากรู้หลายเรื่อง เช่น ทำอย่างไรไม่ตั้งครรภ์ • แนวโน้มหญิงตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ปี สูงขึ้น • หญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 15 ปี สูงขึ้นในปี 2552

  14. แนวโน้ม เคยมีเพศสัมพันธ์ สูงขึ้น เพศสัมพันธ์ครั้งแรก อายุน้อยลง พบการทำแท้ง เพิ่มขึ้น อัตราการใช้ ถุงยางอนามัยต่ำ เยาวชน แนวโน้มหญิง ตั้งครรภ์ อายุต่ำกว่า 20 ปี สูงขึ้น เด็กและวัยรุ่น ถูกกระทำรุนแรง มากขึ้น ความรู้ไม่รอบด้าน และไม่ชัดเจน อัตราป่วยด้วย โรคหนองใน กลุ่มอายุ (15-24 ปี) สูงขึ้น

  15. ข้อมูลเชิงคุณภาพหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี เก็บข้อมูลแบบภาพตัดขวาง(crossectional) เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2553

  16. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปีแยกตามกลุ่มอายุ

  17. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามลำดับครรภ์

  18. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามอำเภอ

  19. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามอำเภอ(ต่อ)

  20. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามระดับการศึกษา

  21. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามอาชีพ

  22. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามรายได้

  23. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามการอยู่อาศัย

  24. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามการรับทราบข้อมูลการคุมกำเนิด

  25. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามแหล่งการรับทราบข้อมูลการคุมกำเนิด

  26. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามวิธีการคุมกำเนิดก่อนการตั้งครรภ์

  27. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี แยกตามความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์

  28. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปีแยกตามความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์

  29. ประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 1.การตั้งครรภ์ครั้งนี้ท่านมีเพศสัมพันธ์สมัครใจหรือไม่ สมัครใจ 65 ราย (85.5) ไม่สมัครใจ 11 ราย (14.47) 2.สามีให้การเลี้ยงดูท่านหรือไม่ ใช่ 74 ราย (97.3) ไม่ 2 ราย (2.63%)

  30. ประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ • 3.ท่านอยู่กินกับสามีหรือไม่ • อยู่กินกับสามี 66 ราย (86.84%) • แยกกันอยู่ 10 ราย (13.15%)

  31. ประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ • 4.ท่านมีความพร้อมในการตั้งครรภ์หรือไม่ • ไม่มีความพร้อมในการตั้งครรภ์ 18 ราย (5.5%) • สาเหตุจาก • 1.แพ้ยา 1 ราย ( 8.3 %) • 2.เพราะยังไม่มีงานทำ 3 ราย ( 25 %) • 3.เลิกกัน 1 ราย ( 8.3 %) • 4.เพราะอายุยังน้อย 2 ( 16.6%)

  32. ประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 5.ใครจะเป็นคนเลี้ยงลูกให้หลังคลอด - ตัวเอง 50 ราย (65.78%) - พ่อแม่ 21 ราย (27.63%) - สามี 1 ราย (1.31%) - ญาติ 4 ราย (5.26%) 6.ใครออกค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงลูก - ตัวเอง 3 ราย (3.94%)- พ่อแม่ 15 ราย (19.73%) - สามี 56 ราย (73.68%) - ญาติ 2 ราย (2.63%)

  33. ประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 7.ตั้งครรภ์ระหว่างเรียนหรือไม่ ใช่ 19 ราย (25%) ไม่ใช่ 57 ราย (75%) 8.ส่งผลต่อการเรียนอย่างไร -ถูกพักการเรียน 9 ราย (47.3%) -ถูกให้ออกจากโรงเรียน 10 ราย (52.6%) 9.คลอดแล้วจะกลับไปเรียนต่อหรือไม่ -กลับไปเรียนต่อ 8 ราย (42.1%) - -ไม่เรียนต่อ 4 ราย (21.0%) -ไม่แน่ใจ 7 ราย 36.8%

  34. ประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพประเด็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ • 10. มีการปฏิบัติตัวอย่างไรขณะตั้งครรภ์ • 10.1 ความสม่ำเสมอของการฝากครรภ์ • -ทุกครั้งตามนัด 74 ราย (97.3%) • - บางครั้ง 2 ราย (2.63%) • 10.2 การรับประทานอาหารขณะตั้งครรภ์ • ครบ 5 หมู่ 73 ราย (96.0%) • 10.3 การนอนหลับพักผ่อน • -เพียงพอ 69 ราย (90.78%) • -ไม่เพียงพอ 7 ราย (9.21%)

More Related