1 / 52

RID WATER for all

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 Public Sector Management Quality Award หมวด 6 การจัดการกระบวนการ. RID WATER for all. 20 มกราคม 2553. www.rid.go.th. ทำไมต้องมีการจัดการกระบวนการ. ?. การทำงานในแต่ละที่ไม่เหมือนกันในงานเดียวกัน

Download Presentation

RID WATER for all

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 Public Sector Management Quality Awardหมวด 6 การจัดการกระบวนการ RID WATER for all 20 มกราคม 2553 www.rid.go.th

  2. ทำไมต้องมีการจัดการกระบวนการทำไมต้องมีการจัดการกระบวนการ ? • การทำงานในแต่ละที่ไม่เหมือนกันในงานเดียวกัน • ไม่ทราบว่าเป็นหน้าที่ของใคร • มีขั้นตอนมากเกินความจำเป็น • ใช้เวลาในการทำงานมาก • มีปัญหาซ้ำแล้วซ้ำอีก • สิ้นเปลืองงบประมาณมาก • ไม่ถูกใจผู้รับบริการ และผู้ได้รับผลกระทบหรือผู้มีส่วนได้เสีย • การทำงานไม่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ ? ? www.rid.go.th

  3. หมวด 6 การจัดกระบวนการ • หมวดการจัดการกระบวนการ เป็นการตรวจประเมินแง่มุมที่สำคัญทั้งหมด ของการจัดการกระบวนการ การให้บริการ และกระบวนการอื่นที่สำคัญ ที่ช่วยสร้างคุณค่าแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจของส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญต่าง ๆ หมวดนี้ ครอบคลุมกระบวนการที่สำคัญและหน่วยงานทั้งหมด www.rid.go.th

  4. หมวด 6 การจัดกระบวนการ • เป็นวิธีในการกำหนดกระบวนการหลัก (กระบวนการสร้างคุณค่า) และกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญๆ ทั้งหมด • สร้างคุณค่าแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ใช้เป็นระบบในการติดตาม ควบคุมดูแล ให้กระบวนการเหล่านี้ดำเนินการ ตามแผนงานและมาตรฐานงานที่วางไว้ www.rid.go.th

  5. ปัจจัยข้อมูลนำเข้าที่สำคัญของหมวด 6 • ข้อมูลหมวด 1 การนำองค์กร แนวนโยบายของผู้บริหารในการดำเนินงาน • ข้อมูลหมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ขององค์กรที่จะไปให้ถึงวิสัยทัศน์ • ข้อมูลหมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย เป็นการมองถึงการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนหรือกระบวนการให้อะไรกับผู้รับบริการบ้าง • ข้อมูลหมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เป็นการมองถึงในแต่ละขั้นตอนหรือกระบวนงานได้มีการประยุกค์ใช้ความรู้และเทคโนโลยีอย่างไร • ข้อมูลหมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล เป็นการมองถึงการใช้และการบริหารบุคคลากรในแต่ละขั้นตอนในการดำเนินงาน • ข้อมูลทั้งหมดนำมาประยุกค์ใช้ในหมวด 6 มาเป็นการวิเคราะห์กระบวนการเพื่อการจัดทำขั้นตอนมาตราฐาน www.themegallery.com

  6. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน • การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน • การกำหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน

  7. ส่วนที่ 1: การออกแบบ กำหนดกระบวนการ (1) ข้อกำหนดที่สำคัญ (2) ออกแบบกระบวนการ (3) 6.1 สามส่วนหลัก ส่วนที่ 2: การควบคุม การนำกระบวนการสู่การปฏิบัติ (4) ลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ (5) ป้องกันความผิดพลาด (5) ส่วนที่ 3: การปรับปรุง ปรับปรุงกระบวนการ (6) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) นวัตกรรม กระบวนการสร้างคุณค่า 7

  8. 6.1 การจัดการกระบวนการ กำหนดกระบวนการ (1) ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) ข้อกำหนดที่สำคัญ (2) กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP 5) องค์ความรู้/IT ความต้องการผู้รับบริการ ออกแบบกระบวนการ (3) ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ เป้าหมายภารกิจ ตัวชี้วัดเพื่อควบคุมกระบวนการ (4) การนำกระบวนการสู่การปฏิบัติ (4) ลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ (5) ป้องกันความผิดพลาด (5) ปรับปรุงกระบวนการ (6) สอดคล้องตาม OP แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) นวัตกรรม กระบวนการสร้างคุณค่า 8

  9. กระบวนการสร้างคุณค่า • เป็นกระบวนการที่ตอบสนองต่อกลุ่มผู้รับบริการโดยตรง • เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้รับบริการพึงพอใจมากกว่าที่ได้รับจากหน่วยงานอื่น • เป็นกระบวนการที่สร้างความโดดเด่นให้แก่องค์กรมากกว่าหน่วยงานอื่น • หากไม่มีกระบวนการนี้ อาจทำให้ผู้รับบริการ ไม่พึงพอใจ หรือเปลี่ยนไปใช้บริการจากหน่วยงานอื่น ที่สามารถทดแทนกันได้

  10. กระบวนการสนับสนุน • กระบวนการที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้กระบวนการสร้างคุณค่าสามารถดำเนินการในกระบวนการได้ และบรรลุตามความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย

  11. ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • กระบวนการสร้างคุณค่า • กระบวนการสำคัญสูงสุดใน • การปฏิบัติตามภารกิจ • สร้างคุณค่าให้กับผู้รับบริการ • และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • เกี่ยวข้องกับบุคลากร • ส่วนใหญ่ • มีได้หลายกระบวนการ • มีลักษณะแตกต่างตาม • ภารกิจขององค์การ กระบวนการสร้างคุณค่า การออกแบบกระบวนการ

  12. ปัจจัยที่สำคัญ • ข้อจำกัดและปัญหาในอดีต • การเติบโตและโอกาสในอนาคต • ปัจจัยที่อาจมีผลกระทบต่อกระบวนการ • ผลกระทบต่อสังคม/สิ่งแวดล้อม • ขีดความสามารถหน่วยงาน • ความพร้อมของทรัพยากร • มาตรฐานการควบคุม • ความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยน • ข้อกำหนดที่สำคัญ • ความต้องการผู้รับบริการ • ความต้องการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ข้อกำหนดด้านกฎหมาย • ประสิทธิภาพของกระบวนการ • ความคุ้มค่า และการลดต้นทุน ข้อกำหนดที่สำคัญ

  13. ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ • องค์ความรู้และ • เทคโนโลยีที่ปลี่ยนแปลง • ขั้นตอนระยะเวลาการ • ปฏิบัติงาน • การควบคุมค่าใช่จ่าย • ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพ • ปัจจัยเรื่องประสิทธิผล

  14. แผนสำรองฉุกเฉิน การสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง การทบทวน/ปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉิน ความเชื่อมโยงแผนสำรองฉุกเฉินกับพันธกิจ • ระบบงานมีการเตรียมความพร้อม • สถานที่ทำงานมีการเตรียม • ความพร้อม • สภาพอากาศ • สาธารณูปโภค • ความปลอดภัย • การจลาจล • ภาวะฉุกเฉินระดับท้องถิ่น/ • ระดับชาติ ภัยพิบัติ ภาวะฉุกเฉิน

  15. การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน • กระบวนการบรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ • แสดงจุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุดของงาน • ผู้ปฏิบัติงานใช้อ้างอิงไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด • ในการทำงาน • มี Work Flow • มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน • มาตรฐานการปฏิบัติงาน • ข้อกำหนดในการ • ปฏิบัติงานทั้งในเชิง • คุณภาพ และปริมาณ • ระบบงาน • ระยะเวลาของกระบวนการ • คุณภาพผลผลิต • (ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น) • ความคุ้มค่าของงาน เมื่อ • เทียบกับทรัพยากรที่ใช้ • ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ • กระบวนการสร้างคุณค่าทั้งหมด • ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ • กระบวนการสนับสนุนทั้งหมด

  16. การปรับปรุงกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการ • บูรณาการในทุกระดับชั้น • ปรับปรุงในระดับกิจกรรม • ปรับปรุงในระดับการปฏิบัติงาน • ประจำวัน • ปรับปรุงในระดับกระบวนการ • ปรับปรุงในระดับกระบวนงาน • ปัจจัยความสำเร็จในการปรับปรุงกระบวนการ • การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร • ความชัดเจนของเป้าหมาย (การปรับปรุง/ • ทิศทาง/การสื่อสาร) • เป้าหมายการปรับปรุงต้องเป็นส่วนสำคัญ • ที่ระบุในแผนกลยุทธ์/ตัวชี้วัดการปรับปรุง • ประจำปี • มีการติดตามแผนการปรับปรุงต่อเนื่อง • มีกลไกการแก้ไขปัญหา • แรงจูงใจ/ความพร้อมใจของบุคลากร • ความรู้ของบุคลากรในการแก้ไขปัญหา • ขั้นตอน • ระบุ/ค้นหาจุดอ่อนใน • กระบวนการ/โอกาสในการ • ปรับปรุง • กำหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ • ในการปรับปรุงงานให้ชัดเจน • จัดทีมงานปรับปรุง • จัดทำแผนงาน/โครงการรองรับ • ดำเนินการและติดตามประเมินผล

  17. สรุปองค์ประกอบสำคัญ 6 ข้อ • แนวทางและวิธีการในการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การรวบรวมข้อมูลเพื่อการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองต่อข้อกำหนดที่สำคัญรวมทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกของหน่วยราชการ • การบริหารจัดการกระบวนการเพื่อให้สามารถบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ • การควบคุมต้นทุนและการลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบทดสอบและการแก้ไขข้อผิดพลาดในกระบวนการ • กลไกในการปรับปรุงกระบวนการและเรียนรู้จากการปรับปรุงนั้น เพื่อการขยายผล และพัฒนาจนเกิดการเรียนรู้ขององค์กร www.rid.go.th

  18. หมวด 6 KPI 1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน 2. ร้อยละของกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) 3. ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบรองรับภาวะ ฉุกเฉิน คะแนนโดยเฉลี่ย 3

  19. การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน PMQA หมวด6 www.rid.go.th

  20. คำสั่งกรมชลประทาน ที่ ข 977/2552 ลว 10 พ.ย.52แต่งตั้งคณะทำงานย่อยจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการสร้างคุณค่า หมวด 6 • คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้านวางโครงการ • คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้านออกแบบ • คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้านสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา • คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้านก่อสร้าง • คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้านจัดสรรน้ำ • คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้านปรับปรุงระบบชลประทาน RID >> Water for all

  21. วัตถุประสงค์ การจัดทำ Work Manual • เพื่อให้ส่วนราชการมีการจัดคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงถึงรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของกิจกรรม/กระบวนการต่าง ๆ ของหน่วยงาน เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการองค์การ • การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานถือเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน (ตาม PM 5) ที่มุ่งไปสู่การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพื่อให้การทำงานของส่วนราชการได้มาตรฐานเป็นไปตามเป้าหมาย ได้ผลิตผลหรือการบริการที่มีคุณภาพ เสร็จรวดเร็วทันตามกำหนดเวลานัดหมาย มีการทำงานปลอดภัย และไม่สร้างมลพิษแก่ชุมชน เพื่อการบรรลุข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ RID >> Water for all

  22. แนวทางการดำเนินการตาม PM 5 PM 5 :ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ RID >> Water for all

  23. กระบวนการสร้างคุณค่า (Value creation) หมายถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่ • สร้างผลประโยชน์แก่ผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • มีผลทำให้บรรลุพันธกิจหลักของส่วนราชการ • มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อ “การดำเนินการตามภารกิจ” • เกี่ยวข้องกับบุคลากรส่วนใหญ่ และก่อให้เกิดผลผลิต บริการ และผลลัพธ์ในเชิงบวกให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นที่สำคัญ RID >> Water for all

  24. กระบวนการสนับสนุน • กระบวนการที่ช่วยสนับสนุนให้กระบวนการสร้างคุณค่า สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ กระบวนการด้านสารบัญ การเงิน/งบประมาณ กระบวนการทรัพยากรบุคคล กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและพัสดุ กระบวนการด้าน IT กระบวนการวางแผน เป็นต้น RID >> Water for all

  25. ความสัมพันธ์ของระบบและกระบวนการความสัมพันธ์ของระบบและกระบวนการ • ในองค์กรประกอบด้วยระบบต่าง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงกัน เช่นระบบการพัฒนายุทธศาสตร์ ระบบฐานข้อมูล ระบบบริหาร ระบบสนับสนุน ฯลฯ • แต่ละระบบสามารถอธิบายเป็นกระบวนการได้ • ในแต่ละกระบวนการอาจสามารถขยายความลงเป็นกระบวนการย่อย ๆ ได้อีก RID >> Water for all

  26. System Process Sub-processes Process 26 กระบวนการสร้างคุณค่า

  27. กระบวนการในองค์การ • ในระบบการบริหารองค์กรประกอบด้วยกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุน • กระบวนการหลักคือสิ่งที่ส่งผลต่อความต้องการของลูกค้าและต่อความสำเร็จขององค์กร • ทุก ๆ กระบวนการภายในองค์กรส่งผลต่อการทำงานของกันและกันและต่อความสำเร็จขององค์กร • แม้กระบวนการหลักจะมีความสำคัญที่สุด แต่กระบวนการสนับสนุนทั้งหลายเป็นส่วนเกื้อหนุนให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล RID >> Water for all

  28. ตัวชี้วัดที่สำคัญ “ตัวชี้วัดที่สำคัญ” หมายถึง ตัววัดที่บ่งชี้ถึงความสำเร็จของการดำเนินการของกระบวนการ เช่น - การวัดความผิดพลาดของกระบวนการติดตั้งโปรแกรม สามารถวัดได้จาก ร้อยละของข้อผิดพลาดในการติดตั้งโปรแกรม โดยตั้งเป้าไว้ไม่เกิน 5% ของจำนวนครั้งในการติดตั้งโปรแกรม - การวัดรอบระยะเวลาของกระบวนการบำรุงรักษาสามารถวัดได้จาก ร้อยละของการดำเนินการตามระยะเวลาที่กำหนด เป็นต้น RID >> Water for all

  29. การออกแบบกระบวนการ ปัจจัยที่ใช้ในการออกแบบกระบวนการ ประกอบด้วย • ข้อกำหนดที่สำคัญ • องค์ความรู้ • เทคโนโลยี • กฎระเบียบ กฎหมาย • ต้นทุน/ ค่าใช้จ่าย • ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน • ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ เป็นต้น RID >> Water for all

  30. คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)คืออะไร • แผนที่บอกเส้นทางการทำงานที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของกระบวนการ • ระบุถึงขั้นตอนและรายละเอียดต่าง ๆ ของกระบวนการ • มักจัดทำขึ้นสำหรับงานที่มีความซับซ้อน มีหลายขั้นตอน และเกี่ยวข้องกับหลายคน • สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน • เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานไว้ใช้อ้างอิง ไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน RID >> Water for all

  31. ขอบเขตหลัก Work Manual • Work Flow ของกระบวนการ • ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • รายละเอียดวิธีการทำงานของแต่ละขั้นตอนย่อย • เอกสาร/ระเบียบ ที่ใช้ประกอบการดำเนินการ • แบบฟอร์ม • ผู้รับผิดชอบ • มาตรฐานงาน คือ ข้อกำหนดในการปฏิบัติงาน • มาตรฐานระยะเวลา • มาตรฐานในเชิงคุณภาพ เช่น ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของข้อมูล ความผิดพลาด ความคุ้มค่าของงาน เป็นต้น • ระบบการติดตามประเมินผล • เพื่อใช้ติดตามผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กำหนด • กำหนดรูปแบบ และระยะเวลาในการติดตาม เช่น ทุก 3 เดือน หรือทุก 6 เดือน RID >> Water for all

  32. องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงานองค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน • วัตถุประสงค์ของการจัดทำคู่มือ • ขอบเขต • คำจำกัดความ • หน้าที่ความรับผิดชอบ • Work Flow กระบวนการ • ขั้นตอนการปฏิบัติงาน • มาตรฐานงาน • ระบบติดตามประเมินผล • เอกสารอ้างอิง • แบบฟอร์มที่ใช้ RID >> Water for all

  33. วัตถุประสงค์ (Objectives) • ความหมาย: เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานของกระบวนนี้ขึ้นมา • ตัวอย่างวัตถุประสงค์เรื่อง : คู่มือการตรวจสอบภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามข้อกำหนด ระเบียบ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการตรวจสอบภายในที่กำหนดไว้อย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์กร RID >> Water for all

  34. ขอบเขต (Scope) • ความหมาย: เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบถึงขอบเขตของกระบวนการในคู่มือว่าครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนใด ถึงขั้นตอนใด หน่วยงานใด กับใคร ที่ใด และเมื่อใด • ตัวอย่างขอบเขตเรื่อง : คู่มือการตรวจสอบภายใน ระเบียบการปฏิบัตินี้ครอบคลุมขั้นตอนการตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบภายในและผู้รับการตรวจสอบ ตั้งแต่การวางแผนการตรวจสอบ การดำเนินการตรวจสอบ การจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ และการตรวจติดตามซ้ำ สำหรับทุกครั้งที่มีการตรวจสอบ ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข RID >> Water for all

  35. คำจำกัดความ (Definition) • ความหมาย: เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบถึงคำศัพท์เฉพาะซึ่งอาจเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ หรือคำย่อ ที่กล่าวถึงภายใต้ระเบียบปฏิบัตินั้นๆ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจตรงกัน • ตัวอย่างคำจำกัดความ เรื่อง : คู่มือการตรวจสอบภายใน Auditor = ผู้ตรวจสอบที่ได้รับมอบหมายอย่างเป็นทางการ Audite = แผนก หน่วยงาน หรือบุคคลผู้ได้รับการตรวจสอบ CAR = Corrective Action Report- การร้องขอให้ดำเนินการแก้ไข RID >> Water for all

  36. หน้าที่ความรับผิดชอบ (Responsibilities) • ความหมาย: เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบว่ามีใครบ้างที่เกี่ยวข้องกับระเบียบปฏิบัตินั้น ๆ โดยมักจะเรียงจากผู้อำนาจหรือตำแหน่งสูงสุดลงมา • ตัวอย่างหน้าที่ความรับผิดชอบเรื่อง : คู่มือการตรวจสอบภายใน ผู้อำนวยการกอง: อนุมัติแผนการตรวจสอบ ติดตามและพิจารณาผลการตรวจสอบ ภายใน หัวหน้ากลุ่มทุกกลุ่ม: รับทราบและให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ นักวิชาการ 6 ว. : จัดทำแผนดำเนินการตรวจสอบ สรุปผลและติดตามผล RID >> Water for all

  37. No Yes No Yes Work Flow กระบวนการ จุดเริ่มต้น และ สิ้นสุดของกระบวนการ กิจกรรมและ การปฏิบัติงาน การตัดสินใจ ทิศทาง/การเคลื่อนไหว ของงาน RID >> Water for all

  38. ตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการ ชื่อกระบวนการ..........................................................................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ................................................... No Yes No Yes จุดเชื่อมต่อระหว่างขั้นตอน (เช่น กรณีการเขียนกระบวนการ ไม่สามารถจบได้ภายใน 1 หน้า) การตัดสินใจ ทิศทาง/ การเคลื่อนไหว ของงาน จุดเริ่มต้น และ สิ้นสุดของกระบวนการ กิจกรรมและ การปฏิบัติงาน

  39. เอกสารอ้างอิง (Reference Document) • ความหมาย: เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบถึงเอกสารอื่นใดที่ต้องใช้ประกอบคู่กันหรืออ้างอิงถึงกัน เพื่อให้การปฏิบัติงานนั้นๆ สมบูรณ์ ได้แก่ ระเบียบปฏิบัติเรื่องอื่น พระราชบัญญัติ กฎหมาย กฎระเบียบ หรือวิธีการทำงาน เป็นต้น • ตัวอย่างเอกสารอ้างอิงเรื่อง : คู่มือการตรวจสอบภายใน ระเบียบการปฏิบัติเรื่องการแก้ไขและป้องกัน(QP-QMR-01) ระเบียบปฏิบัติเรื่องการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร (QP-QMR-02) RID >> Water for all

  40. แบบฟอร์มที่ใช้ (Form) • ความหมาย: เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบถึงแบบฟอร์มต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในการบันทึกข้อมูลของผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการปฏิบัติงานของกระบวนการนั้น ๆ • ตัวอย่างแบบฟอร์มเรื่อง : คู่มือการตรวจสอบภายใน แบบวางแผนการตรวจสอบภายใน (Audit Plan) (F-AD-01) แบบคำถามการตรวจสอบภายใน (Audit Checklist) (F-AD-02) แบบรายงานผลการตรวจสอบภายใน (Audit Report) (F-AD-03) RID >> Water for all

  41. ประโยชน์การจัดทำ Work Manual • ใช้ฝึกอบรมข้าราชการใหม่ • ประหยัดงบประมาณในการฝึกอบรม เนื่องจากหัวหน้างานใช้เป็นคู่มือในการสอนงาน • ทำให้การกำหนดหน้าที่การงานชัดเจนไม่ซ้ำซ้อน • ใช้ในการควบคุมงานและการติดตามผลการปฏิบัติงานให้มีความผิดพลาดในการทำงานลดน้อยลง • เป็นคู่มือในการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Review) ของบุคลากร • ช่วยในการปรับปรุงงานและออกแบบกระบวนงานใหม่ • ใช้เป็นฐานในการประกาศเวลามาตรฐานการให้บริการ ต่อองค์การและผู้บังคับบัญชา RID >> Water for all

  42. ประโยชน์การจัดทำ Work Manual • ได้รับทราบภาระหน้าที่ของตนเองชัดเจนยิ่งขึ้น • ได้เรียนรู้งานเร็วขึ้นทั้งตอนที่เข้ามาทำงานใหม่ / หรือตอนที่จะย้ายงานใหม่ • มีขั้นตอนในการทำงานที่แน่นอน ทำให้การทำงานได้ง่ายขึ้น • รู้จักวางแผนการทำงานเพื่อให้ผลงานออกมาตามเป้าหมาย • สามารถใช้เป็นแนวทางเพื่อการวิเคราะห์งานให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา • สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะมีสิ่งที่อ้างอิง • สร้างความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน ต่อผู้ปฏิบัติงาน RID >> Water for all

  43. ปัจจัยสำคัญในการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน • ลักษณะที่ดีของคู่มือการปฏิบัติงาน • คุณสมบัติและทักษะของผู้จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน RID >> Water for all

  44. ลักษณะที่ดีของคู่มือการปฏิบัติงานลักษณะที่ดีของคู่มือการปฏิบัติงาน • กระชับ ชัดเจน เข้าใจได้ง่าย • เป็นประโยชน์สำหรับการทำงานและฝึกอบรม • เหมาะสมกับองค์กรและผู้ใช้งานแต่ละกลุ่ม • มีความน่าสนใจ น่าติดตาม • มีความเป็นปัจจุบัน (Update) ไม่ล้าสมัย • แสดงหน่วยงานที่จัดทำ วันที่บังคับใช้ • มีตัวอย่างประกอบ Clear Complete Concise Correct RID >> Water for all

  45. คุณสมบัติ มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานเรื่องนั้น ๆ เป็นคนช่างสังเกต เอาใจใส่ในรายละเอียดของการปฏิบัติงาน รู้ทฤษฎีและความรู้พื้นฐานของการวิเคราะห์ระบบงาน รู้หลักการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ รู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ คุณสมบัติและทักษะของผู้จัดทำเอกสารการปฏิบัติงาน • ทักษะ • ทักษะการวิเคราะห์ (Analysis Skills) • ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) • ทักษะออกแบบ (Design Skills) • ทักษะการประเมินผล (Evaluation Skills)

  46. ตัวอย่างแบบฟอร์มแสดงรายชื่อกระบวนการ

  47. ตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการ ชื่อกระบวนการ..........................................................................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ................................................... No Yes No Yes จุดเชื่อมต่อระหว่างขั้นตอน (เช่น กรณีการเขียนกระบวนการ ไม่สามารถจบได้ภายใน 1 หน้า) การตัดสินใจ ทิศทาง/ การเคลื่อนไหว ของงาน จุดเริ่มต้น และ สิ้นสุดของกระบวนการ กิจกรรมและ การปฏิบัติงาน

  48. ตัวอย่าง1 การออกแบบกระบวนการ ชื่อกระบวนการ......กระบวนการรับหนังสือภายนอก.................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ... ร้อยละของเอกสารที่รับได้ภายใน 2 วัน............ ลงทะเบียนรับ ตรวจสอบหนังสือเบื้องต้น เสนอ ผอ.สลธ. จัดส่งหนังสือไปยัง สำนักที่เกี่ยวข้อง สำนักเจ้าของเรื่อง ลงรับเอกสาร เสนอ ผอ.สำนัก เจ้าของเรื่อง

  49. ตัวอย่าง2 การออกแบบกระบวนการ ชื่อกระบวนการ......กระบวนการจัดทำแผนงานโครงการ.................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ... ร้อยละข้อผิดพลาดในการจัดทำแผนงานโครงการ ศึกษาวิเคราะห์ แนวทางการดำเนินงาน จัดทำแผนงานโครงการ เสนอ ผู้บริหารเพื่ออนุมัติโครงการ No Yes จัดซื้อจัดจ้าง

  50. คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้าน_____คณะทำงานฯจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้าน_____ รวบรวมสรุป/กลั่นกรอง คณะทำงานจัดทำคู่มือ คัดเลือกแนวทางคู่มือ คู่มือการปฏิบัติงาน มาตราฐานกรมชลประทาน หัวข้อ /แนวทาง สชป./สำนัก/ กอง จัดทำคู่มือ ทำชุมชนนักปฏิบัติ (COP) แต่งตั้งคณะทำงาน RID >> Water for all

More Related