1 / 196

ชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

ชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. 10 กันยายน 2553. ประเด็นนำเสนอ. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

pillan
Download Presentation

ชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชี้แจง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 10 กันยายน 2553

  2. ประเด็นนำเสนอ • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • แนวทางการเจรจาความเหมาะสมตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • รายการตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด”

  3. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  4. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ • การขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • - การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ความมั่นคงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ความพึงพอใจ • การป้องกันการทุจริต มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์การ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • การบริหารงบประมาณ • การควบคุมภายใน • การบริหารจัดการองค์การ

  5. มิติด้านการพัฒนาองค์การมิติด้านการพัฒนาองค์การ กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 ของจังหวัด มิติด้านประสิทธิผล 50% ความสำเร็จ ตามแผนปฏิบัติราชการ กลุ่มจังหวัด และจังหวัด ความสำเร็จตาม นโยบายสำคัญเร่งด่วน ของรัฐบาล การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 20 10 20 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 15% การป้องกันการทุจริตในการปฏิบัติราชการ ความพึงพอใจ 12 3 15% มิติด้านประสิทธิภาพ มาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การบริหารงบประมาณ การควบคุมภายใน 7 3 5 20% การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 20

  6. กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของจังหวัด 6

  7. กรอบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของจังหวัด 7

  8. แนวทางการเจรจาความเหมาะสมตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  9. ไม่ต้องเจรจากับคณะกรรมการไม่ต้องเจรจากับคณะกรรมการ เจรจา ฯ ขั้นตอนการเจราจาข้อตกลงตัวชี้วัด ในมิติที่ 1 ของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สำนักงาน ก.พ.ร. จัดทำรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จ ในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ กลุ่มจังหวัดและจังหวัด ในมิติที่ 1 เสนอ อ.ก.พ.ร. พิจารณาให้ความเห็นชอบ สำนักงาน ก.พ.ร. ส่งรายการตัวชี้วัด ให้จังหวัดพิจารณาและให้จังหวัดเสนอ ตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนน มายังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 13 กันยายน 2553 สำนักงาน ก.พ.ร. วิเคราะห์ความเหมาะสมของตัวชี้วัดและเกณฑ์ฯ ที่ กลุ่มจังหวัด/จังหวัดเสนอมา ตัวชี้วัดที่จังหวัดเสนอทั้งหมด เป็นไปตามรายการตัวชี้วัดที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ สรุปผลแจ้ง อ.ก.พ.ร.ฯและจังหวัด ตัวชี้วัดที่จังหวัดเสนอ ไม่เป็นไปตามรายการตัวชี้วัดที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ สรุปผล อ.ก.พ.ร.ฯ และแจ้งจังหวัด เจรจากับคณะกรรมการ เจรจาฯ โดยผ่านระบบ วีดีทัศน์ทางไกล จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  10. การกำหนดตัวชี้วัด 1 ตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการให้เน้นตัวชี้วัดผลผลิตและผลลัพธ์ ไม่ใช่ตัวชี้วัดกระบวนการ 2 การกำหนดตัวชี้วัดควรมุ่งเน้นการวัดเชิงคุณภาพของสิ่งที่ต้องการจะวัดมากกว่าการให้ความสำคัญเชิงปริมาณ 3 การกำหนดตัวชี้วัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด 4 ควรกำหนดตัวชี้วัดที่มีความสำคัญหลักเท่านั้น และไม่ควรมีจำนวนมากเกินความจำเป็น

  11. เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 5 ระดับ ระดับที่ 5 ระดับที่ 4 ดีกว่าเป้าหมาย ระดับที่ 3 กลุ่มจังหวัด/จังหวัดต้องแสดงให้เห็นว่าสามารถบรรลุผลลัพธ์ (Outcome) หรือมีการเทียบกับมาตรฐาน (Benchmarking) ในระดับต่าง ๆ เช่น ระดับชาติ ระดับที่ 2 ดีกว่าเป้าหมาย กลุ่มจังหวัด/จังหวัดต้องแสดงให้เห็นว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัดนั้นในเชิงคุณภาพ หรือนวัตกรรมทางการบริหารจัดการ หรือผลการดำเนินการทำให้เกิดผลลัพธ์ (Outcome) อย่างไร เป็นต้น ระดับที่ 1 เป็นไปตามเป้าหมาย เป็นการวางเป้าหมาย ที่จะทำสำเร็จตามแผนงานประจำปี หรือจะพัฒนาต่อเนื่องจากผลการดำเนินการในปีก่อน เป็นContinuous Improvement หรือถ้าตัวชี้วัดใดที่มีผลการดำเนินการได้สูงสุดและไม่สามารถปรับปรุงได้อีกแล้วก็อาจจะถอดตัวชี้วัดนั้นออกหรือลดน้ำหนักตัวชี้วัดนั้น เป็นต้น ต่ำกว่าเป้าหมาย ต่ำกว่าเป้าหมายมาก

  12. ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  13. ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (ต่อ)

  14. รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด”

  15. รายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ กลุ่มจังหวัดและจังหวัด” 8 ยุทธศาสตร์หลัก ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน ยุทธศาสตร์ด้านเกษตรกรรม ยุทธศาสตร์ด้านอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสังคม อาชีพ คุณภาพชีวิต และการศึกษา ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  16. รายการตัวชี้วัด

  17. รายการตัวชี้วัด

  18. รายการตัวชี้วัด

  19. รายการตัวชี้วัด

  20. รายการตัวชี้วัด

  21. รายการตัวชี้วัด

  22. รายการตัวชี้วัด

  23. รายการตัวชี้วัด

  24. รายการตัวชี้วัด

  25. รายการตัวชี้วัด

  26. ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว

  27. ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว” ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของรายได้จากการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เปรียบเทียบกับรายได้เฉลี่ยจากการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัด/จังหวัดเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี คือ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549,2550 และ 2553 (ข้อมูลรายได้จากการท่องเที่ยว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 และ 2552 ไม่สมบูรณ์ จึงไม่สามารถนำมาใช้ในการประเมินผล)

  28. ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว”(ต่อ) • ผู้เยี่ยมเยือน ได้แก่ นักท่องเที่ยว และนักทัศนาจร • ข้อมูลรายได้จากการท่องเที่ยวของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 คำนวณจากค่าใช้จ่ายต่อคนต่อวันของผู้เยี่ยมเยือน และวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยว ซึ่งข้อมูลจะได้จากการสำรวจภาคสนามเพื่อทราบสัดส่วนพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยมีวิธีการคำนวณ ดังต่อไปนี้

  29. ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว” (ต่อ) สูตรคำนวณ เกณฑ์การให้คะแนน • Y = ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของรายได้จากการท่องเที่ยว เฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี งบประมาณ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549, 2550 และ 2553) • รายได้จากการท่องเที่ยวในปีงบประมาณ = ผลรวมของรายได้จากการท่องเที่ยว • รายไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 + 2 + 3 + 4 ของปีงบประมาณ)

  30. ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด” • คำอธิบาย: • การพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยว คือ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว หรือการพัฒนาบริการ ด้านการท่องเที่ยว เพื่อเตรียมความพร้อมให้เป็นไปตามมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และมาตรฐานบริการด้านการท่องเที่ยวของกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา • คณะกรรมการประเมินคุณภาพด้านการท่องเที่ยว จะมี กรมการท่องเที่ยวเป็นผู้ประสานงานในการจัดตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด ซึ่งจะมีองค์ประกอบ อย่างน้อย 5 คน ประกอบด้วย ผู้แทนจากกรมการท่องเที่ยว และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือหน่วยงานที่ กรมการท่องเที่ยว มอบหมายให้เป็นผู้ประเมินคุณภาพด้านการท่องเที่ยวแทน กรมการท่องเที่ยว

  31. ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด”(ต่อ) • คำอธิบาย: • การให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อย่างยั่งยืน เช่น - การให้องค์ความรู้กับบุคลากรในชุมชน ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน - การสร้างการรับรู้แก่ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยว - การแสวงหาการยอมรับจากชุมชนในพื้นที่ - การสร้างความเข้าใจเพื่อให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว - การสร้างจิตสำนึกให้แก่ชุมชนในพื้นที่ได้ตระหนักและหวงแหนแหล่งท่องเที่ยว

  32. ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด” (ต่อ) ระดับคะแนน 1 คัดเลือกประเด็นการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวที่จะทำการพัฒนาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จำนวน 1 ประเด็น (อาจเป็นประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว หรือบริการด้านการท่องเที่ยว) ตามเกณฑ์มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว หรือมาตรฐานบริการด้านการท่องเที่ยวของกรมการท่องเที่ยว โดยจังหวัดต้องจัดลำดับความสำคัญของประเด็นการพัฒนา และระบุเหตุผลหรือหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือก

  33. ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด” ระดับคะแนน 2 จัดทำเป็นโครงการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว 1 โครงการตามประเด็นที่ได้รับการคัดเลือก (หรือทบทวนจากโครงการที่มีอยู่เดิม) และในโครงการฯ ต้องกำหนดให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่อย่างยั่งยืนด้วย รวมทั้งมีการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายเชิงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ อย่างชัดเจน

  34. ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด” ระดับคะแนน 3 ดำเนินกิจกรรมตามโครงการแล้วเสร็จร้อยละ 100 ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มีการสรุปประเมินผลตามตัวชี้วัดและเป้าหมายเชิงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และมีผลการประเมินสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ระดับคะแนน 4 โครงการที่พัฒนา (พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว/พัฒนาบริการด้านการท่องเที่ยว) ได้รับการประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนดโดย กรมการท่องเที่ยว/ผู้แทน และ/หรือคณะกรรมการประเมินผลคุณภาพด้านการท่องเที่ยว และได้รับผลการประเมินให้ “ผ่าน” เกณฑ์คุณภาพด้านการท่องเที่ยว เพื่อเตรียมความพร้อมในการขอรับการตรวจประเมินมาตรฐานการท่องเที่ยวไทย ระดับคะแนน 5

  35. ยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีของจังหวัด” ระดับคะแนน 1 • จัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยดำเนินการร่วมกับองค์กรภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน เครือข่ายทางวัฒนธรรมในชุมชน/ท้องถิ่น โดยแผนปฏิบัติการฯ ที่จัดทำขึ้น ต้องประกอบด้วย • การนำทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างเป็นเรื่องราว (Story) และจัดทำเส้นทางการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับเรื่องราว (Story) และเครือข่ายทางวัฒนธรรมในชุมชน/ท้องถิ่น • การส่งเสริม/พัฒนาบุคลากรในชุมชน/ท้องถิ่นให้มีความรู้ในเรื่องราว (Story) ที่นำเสนอ รวมทั้งเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับเรื่องราว (Story) เช่น การอบรมมัคคุเทศก์รุ่นเยาว์ การพัฒนานักแสดงตามกิจกรรมที่จัด เป็นต้น • การกำหนดกิจกรรมการดำเนินการ/กิจกรรม (Event) โดยระบุผู้ที่รับผิดชอบ งบประมาณ ระยะเวลาการดำเนินการอย่างชัดเจน

  36. ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีของจังหวัด”(ต่อ) ระดับ คะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 5

  37. ตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีของจังหวัด”(ต่อ) เงื่อนไข การวัดระดับความพึงพอใจของประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่อทำงานของจังหวัดในการสนับสนุนด้านการท่องเที่ยว จะต้องสำรวจโดยการใช้แบบสอบถามที่ได้รับความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญด้านสถิติหรือผู้ที่มีประสบการณ์ในการสำรวจความพึงพอใจ และจำนวนตัวอย่างในการสำรวจจะต้องถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย

  38. ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน

  39. ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน ” • มูลค่าการค้าชายแดน หมายถึง มูลค่าการส่งออกและนำเข้าของจังหวัดชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทยทั้ง 4 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพม่า และมาเลเซีย (ไม่รวมการค้าผ่านแดน) สูตรคำนวณ ใช้ข้อมูลจากกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

  40. ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน”(ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไข : โดยที่ X หมายถึง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เทียบกับมูลค่าการค้าชายแดน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Y หมายถึง ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการค้าชายแดน เฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 - 2553) ทั้งนี้ หากร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการค้าชายแดนเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปีงบประมาณ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 - 2553) น้อยกว่า ร้อยละ 5 กำหนดให้ใช้ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5

  41. ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน ตัวชี้วัด “: ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ ” • มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ หมายถึง มูลค่าการส่งออกและนำเข้าสินค้าระหว่างประเทศของกลุ่มจังหวัดและ/หรือจังหวัดทั้งหมดที่ผ่านด่านศุลกากร (ไม่รวมมูลค่าการค้าชายแดน) สูตรคำนวณ

  42. ตัวชี้วัด “: ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ ”(ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไข : โดยที่ X หมายถึง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เทียบกับมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Y หมายถึง ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศ เฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 - 2553)

  43. ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน ตัวชี้วัด “ร้อยละเพิ่มขึ้นของปริมาณการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร (ให้ระบุชนิดผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าวหอมมะลิ และมันสำปะหลัง เป็นต้น)” • ปริมาณการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง ปริมาณของการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรของเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ตลาดกลางสินค้าเกษตร ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการที่รับซื้อผลผลิต สูตรคำนวณ

  44. ตัวชี้วัด “ร้อยละเพิ่มขึ้นของปริมาณการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร (ให้ระบุชนิดผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าวหอมมะลิ และมันสำปะหลัง เป็นต้น)”(ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไข : โดยที่ X หมายถึง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร (ระบุชนิดผลผลิต) ปีการผลิต/ปีเพาะปลูก 2552/2553 เทียบกับปริมาณการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร (ระบุชนิดผลผลิต) ปีการผลิต/ปีเพาะปลูก 2551/2552 Y หมายถึง ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร เฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี (ปีการผลิต/ปีเพาะปลูก 2548/2549 - 2552/2553) ปีการเพาะปลูก/ปีการผลิต ขึ้นอยู่กับชนิดของผลผลิตทางการเกษตร

  45. ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตร (ให้ระบุสินค้าเกษตรที่สำคัญ เช่น ข้าว และมันสำปะหลัง เป็นต้น)” • พิจารณาจากมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตรไปยังต่างประเทศทั้งการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดน (ระบุสินค้าเกษตรที่สำคัญ) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เปรียบเทียบกับมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สูตรคำนวณ

  46. ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตร (ให้ระบุสินค้าเกษตรที่สำคัญ เช่น ข้าว และมันสำปะหลัง เป็นต้น)”(ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไข : โดยที่ X หมายถึง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตร (ระบุชนิดผลผลิต) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เทียบกับมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตร (ระบุชนิดผลผลิต) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Y หมายถึง ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตร เฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี(ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 - 2553 )

  47. ยุทธศาสตร์ด้านการผลิต การค้า การลงทุน ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าผลผลิตการเกษตรสำคัญของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด (ให้ระบุ ผลผลิตทางการเกษตร เช่น ไก่เนื้อ ข้าว เป็นต้น)” • หมายถึงร้อยละของการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ารวมผลผลิตการเกษตรสำคัญของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2554 เทียบกับมูลค่ารวมผลิตผลการเกษตรสำคัญของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สูตรคำนวณ • มูลค่ารวมผลผลิตทางการเกษตร • คิดจากราคาหน้าฟาร์ม(Farm Price)

  48. ตัวชี้วัด “ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าผลผลิตการเกษตรสำคัญของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด (ให้ระบุ ผลผลิตทางการเกษตร เช่น ไก่เนื้อ ข้าว เป็นต้น)”(ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน เงื่อนไข : โดยที่ X หมายถึง ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารวมผลผลิตการเกษตรสำคัญ (ระบุชนิดผลผลิต) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เทียบกับมูลค่ารวมผลผลิตการเกษตรสำคัญ (ระบุชนิดผลผลิต) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 Y หมายถึง ร้อยละการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ารวมผลผลิตการเกษตรสำคัญเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2553)

  49. ยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรยุทธศาสตร์ด้านการเกษตร

  50. รายการตัวชี้วัด

More Related