1 / 69

การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ และ การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่บุคคล

การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ และ การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่บุคคล. SP 5. การดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553. หมวด 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ( SP ).

rhonda
Download Presentation

การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ และ การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่บุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์และการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่บุคคลการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์และการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่บุคคล

  2. SP 5 การดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 หมวด 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ (SP) จังหวัดมีการถ่ายทอด (cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับจังหวัดลงสู่ระดับส่วนราชการประจำจังหวัด (ทุกส่วนราชการประจำจังหวัด) และระดับบุคคลอย่างน้อย 1 ส่วนราชการประจำจังหวัด อย่างเป็นระบบ

  3. A D L I ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วนจะพิจารณา จาก • มีสรุปบทเรียนจากการติดตามความก้าวหน้าและรายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปี • มีข้อเสนอแนะสำหรับการปรับปรุงงานในอนาคต • มีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) ระดับจังหวัด • มีกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการประจำจังหวัด (ทุกส่วนราชการประจำจังหวัด) ที่แสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับหน่วยงาน • มีกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับบุคคล (อย่างน้อย 1 ส่วนราชการประจำจังหวัด) ที่แสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับบุคคล • มีแนวทางการประเมินผลสำเร็จตามตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ชัดเจน • มีแนวทางทางการติดตามความก้าวหน้าและรายงานผล ที่มีความถี่เหมาะสม • มีแผนการจัดระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับจังหวัดสู่ส่วนราชการประจำจังหวัด และระดับบุคคล (Gantt Chart) • มีการสื่อสารให้ทราบถึงกรอบการประเมินผลและแผน/Gantt Chartอย่างทั่วถึง • มีการดำเนินการตามแผน/Gantt Chart • มีการจัดทำข้อตกลงในการปฏิบัติงานอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรในทุกระดับที่มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและมีการติดตามผลการดำเนินงานตามแนวทางที่กำหนดไว้ • มีการสรุปประเมินผล/สรุปผลคะแนนครบทุกระดับ • มีการเชื่อมโยงระหว่างผลการประเมินการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการปฏิบัติงานกับระบบแรงจูงใจ

  4. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล ครอบคลุมถึง • การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) ระดับจังหวัด และการแสดงให้เห็นถึงถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายลงสู่ระดับส่วนราชการประจำจังหวัด และระดับบุคคล • มีการสื่อสาร ทำความเข้าใจอย่างทั่วถึงและภายในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้บุคลากรในจังหวัดทราบถึงวิธีการ/กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายจากระดับจังหวัดสู่ส่วนราชการประจำจังหวัด และระดับบุคคลเพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถมีส่วนร่วม ในการดำเนินการตามระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของจังหวัด ได้อย่างถูกต้อง

  5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล ครอบคลุมถึง • มีการผูกมัด (Commitment) ต่อความสำเร็จตามเป้าหมายของจังหวัดและมีความรับผิดชอบต่อผลงานที่ได้รับการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายมาอยู่ในความรับผิดชอบโดยตรง • มีการจัดทำข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษรในทุกระดับ โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด และเป้าหมาย รวมถึงเกณฑ์การประเมินผลความสำเร็จที่สามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม • มีระบบในการติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการและการประเมินผลสำเร็จตามตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ถ่ายทอดลงไปในแต่ละระดับ เพื่อติดตาม กำกับให้มีการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายโดยรวมขององค์การ

  6. A

  7. A

  8. A

  9. A

  10. A

  11. A

  12. D

  13. D

  14. D

  15. D

  16. L

  17. I

  18. SP 5 ข้อสังเกตในการประเมินผลของที่ปรึกษา • จะพิจารณาการดำเนินงานที่สอดคล้องกับหลักการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายฯ ซึ่งสำนักงาน ก.พ.ร. มีแหล่งข้อมูลและองค์ความรู้ และการสนับสนุนด้านอื่นๆ เพื่อให้จังหวัดดำเนินการได้ถูกต้องและเป็นระบบ • ต้องแสดงให้เห็นถึงความเป็นระบบ ความสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และยั่งยืน (Systematic – Consistency – Continuous Improvement – Sustainable) • การมีเอกสาร หลักฐาน โดยทำตามแบบฟอร์ม แต่ไม่แสดงถึงการมีความรู้ความเข้าใจและมีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายฯ อย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน และมีความก้าวหน้าภายในระยะเวลาที่เหมาะสม จะไม่ทำให้สามารถผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐาน (Fundamental Level) ได้ • ถ้า A ไม่สมบูรณ์ โอกาสที่จะผ่าน D – L –I ย่อมลดลง หรืออาจไม่มีการประเมินผลในหัวข้อ D – L – I ต่อไปเลยก็ได้ ควรคำนึงถึงการดำเนินการที่เป็นระบบ สามารถใช้การถ่ายทอดเป้าหมายฯ เป็นเครื่องมือในการผลักดันให้เกิดผลสำเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และวิสัยทัศน์ของจังหวัด มิควรมุ่งดำเนินการเพื่อให้ได้ “คะแนน” แต่ไม่ได้มีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง ซึ่งในระยะยาวย่อมจะส่งผลเสียต่อองค์กร

  19. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคลภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) แผนงาน/ โครงการ ค่า เป้าหมาย เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล

  20. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ 20

  21. แผนที่ยุทธศาสตร์ คือ แผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงยุทธศาสตร์ขององค์การในรูปแบบของความสัมพันธ์ในเชิงเหตุและผล เป็นความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์ที่องค์การปรารถนาในมุมมองทางด้านประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และการพัฒนาองค์การ อันจะนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ 21

  22. แผนที่ยุทธศาสตร์ • แต่ละมุมมองประกอบด้วยเป้าประสงค์ (คือสิ่งที่องค์การต้องการมุ่งเน้นหรือประสบความสำเร็จ) • โดยเป้าประสงค์ภายใต้มุมมองแต่ละมุมมองนั้นจะมีความสอดคล้องกันในลักษณะของเหตุและผลที่มีความชัดเจน • ทุกอย่างจะช่วยสนับสนุนและสอดคล้องต่อยุทธศาสตร์ขององค์การ • ทำให้ทุกคนเห็นภาพของยุทธศาสตร์ที่ชัดเจนขึ้น และทราบว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องปฏิบัติเพื่อให้องค์การสามารถดำเนินงานได้ตามยุทธศาสตร์ที่ตั้งไว้ 22

  23. กระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ 3. กำหนด เป้าประสงค์ ภายใต้ประเด็น ยุทธศาสตร์ 1. ยืนยัน วิสัยทัศน์ ของหน่วยงาน 2. ยืนยันประเด็น ยุทธศาสตร์ ของหน่วยงาน เป็นการ ยืนยันทิศทางการพัฒนาที่หน่วยงานต้องการ เป็นการกำหนดประเด็นสำคัญที่หน่วยงานต้องดำเนินการพัฒนาเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ เริ่มต้นด้วยการตั้งคำถามในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตามมิติทั้ง 4 มิติ 23

  24. กระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ การกำหนดเป้าประสงค์ที่ต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 24

  25. ข้อแนะนำในการเขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ข้อแนะนำในการเขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ 1. การเขียนเป้าประสงค์ควรเขียนอยู่ในรูปของคำกริยา (Action Verb) เช่น - แทนที่จะเขียนว่า “การให้บริการที่รวดเร็ว” ซึ่งเป็นคำนามและอาจจะไม่สื่อกับผู้อ่าน ควรจะเขียนว่า “การเพิ่มความเร็วในการให้บริการ ” - หรือถ้าเขียนว่า “บุคลากรมีความรู้ความสามารถ” เมื่ออ่านอาจจะทำให้เกิดความเข้าใจได้ว่าบุคลากรขององค์การไม่มีความรู้ความสามารถเลย จึงควรจะเขียนว่า “พัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร” 2. เป้าประสงค์ต่างๆ ในแผนที่ยุทธศาสตร์จะต้องมีความเชื่อมโยงในลักษณะของเหตุและผล ซึ่งเราสามารถทดสอบสมมุติฐานความเชื่อมโยงแต่ละประการได้ โดยอาศัยรูปประโยค “ถ้า......แล้ว......” เช่น ถ้าบุคลากรมีความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้นแล้ว จะทำให้บริการลูกค้าได้เร็วขึ้น แล้วจะทำให้ลูกค้าพอใจขึ้น แล้วจะทำให้รายได้เพิ่มขึ้น 25

  26. Strategy Map จังหวัดปทุมธานี ตัวอย่าง วิสัยทัศน์จังหวัด ““ปทุมธานีเป็นเมืองศูนย์กลางการศึกษาวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยี เสริมสร้างความเข้มแข็งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1. มีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ผลิตชุมชน ที่เข้มแข็งและมีความสามารถในการแข่งขัน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงการเรียนรู้แบบบูรณาการ การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัย จังหวัดปทุมธานีเป็นเมืองที่น่าอยู่ 5.เพิ่มรายได้จากสินค้าชุมชน 3.มีการลงทุนและจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 4.สินค้าเกษตรมีมูลค่า เพิ่ม 8. จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 7. มีค่าใช้จ่ายจากการท่องเที่ยวต่อหัวเพิ่มขึ้น 6.สินค้าจากผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ 1. ศูนย์กลางทางด้านการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย 2.เป็นเมืองที่น่าอยู่สำหรับผู้เชี่ยวชาญ และนักวิชาการ ประสิทธิผล ตามพันธกิจ 11.มีสิ่งแวดล้อมที่ดี 12.มีระบบการคมนาคมที่สะดวกขึ้น 14. มีสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐานสากล 16.มีผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวมากขึ้น 17. นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจ 9.ชุมชนและผู้รับบริการได้รับการถ่ายทอดความรู้ จากงานวิจัย/ วิชาการ 10.สถาบันการ ศึกษาในทุกระดับได้รับการพัฒนา คุณภาพ การให้บริการ 13.เมืองที่มีความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน 15.มีสถาบันการศึกษาในทุกระดับที่มีคุณภาพมาตรฐานในระดับชาติ 19.มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการท่องเที่ยว 18. แหล่งท่องเที่ยวมีมาตรฐาน 24. ผู้เชี่ยวชาญมาอยู่เพิ่มขึ้น 20.มีงานวิจัยเชิงบูรณาการร่วมกัน 36. พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกในด้านการท่องเที่ยว 37. มีการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดให้มากขึ้น 30.มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้กับ SME อย่างต่อเนื่อง 26.มีการพัฒนาระบบ เครื่องมือ กลไกในการดูแลสิ่งแวดล้อม 28.พัฒนาสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาลให้ได้มาตรฐาน 31.การสร้างเครือข่ายให้มีความเข้มแข็ง 21.ดึงสถาบัน การศึกษาให้เข้ามามีส่วนร่วมกับชุมชนมากขึ้น 22.มีการศึกษาและหาศักยภาพของสถาบันการศึกษาให้ชัดเจน 32.เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนที่มีอยู่ 34.สร้างความเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่นในกลุ่มจังหวัด ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ 27.เมืองที่มีระบบผังเมืองและการคมนาคมที่ดี 29.พัฒนาระบบความปลอดภัยและระบบข้อมูลให้ทันสมัยและเหมาะสม 38.พัฒนาแหล่งจำหน่ายสินค้า OTOP ให้เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยว 33.การทำให้ผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนมากขึ้น 23.การสร้างความร่วมมือทางการศึกษาในทุกระดับ 35.พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงทางด้านการท่องเที่ยว 25. มีมาตรการจูงใจ พัฒนา องค์กร 39.มีงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ 40. การพัฒนาระบบบริหารความรู้ 41. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

  27. การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่บุคคลการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่บุคคล 27

  28. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลของหน่วยงานประจำจังหวัด กลุ่มจังหวัด...... ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับกรม จังหวัด...... ระดับจังหวัด ระดับสำนัก / กอง สำนักงาน......... ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล ข้าราชการสังกัด สำนักงาน.......จังหวัด.... ระดับบุคคล

  29. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับจังหวัดลงสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับจังหวัดลงสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 2 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับจังหวัด บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด วิสัยทัศน์จังหวัด 2.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของจังหวัด 2.2 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่จังหวัดมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.3 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพิ่มเติมตามวิสัยทัศน์ของจังหวัด 2.4 กำหนดเป้าประสงค์ที่จังหวัดต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 2.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล แนวทางการพัฒนาระบบประเมินผล กระบวนการพัฒนาระบบประเมินผล ขั้นตอนที่ 1: การพัฒนาระบบประเมินผลระดับกลุ่มจังหวัด วิสัยทัศน์ 1.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด 1.2 ยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด 1.3 กำหนดเป้าประสงค์ที่กลุ่มจังหวัดต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 1.4 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับกลุ่มจังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด วิสัยทัศน์หน่วยงาน บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ส่วนราชการต้นสังกัด ขั้นตอนที่ 3 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับหน่วยงาน บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 3.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน 3.2 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยงานมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด 3.3 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยงานมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต้นสังกัด ระดับหน่วยงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.6 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ 3.5 กำหนดเป้าประสงค์ที่หน่วยงานต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 3.4 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพิ่มเติมตามวิสัยทัศนของหน่วยงาน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 4 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับบุคคล ระดับบุคคล 3.1 ยืนยันหน้าที่งานของบุคคล 3.2 กำหนดเป้าประสงค์ที่บุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชา 3.3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่งานที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.4 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์

  30. กระบวนการในการวางระบบฯ ในระดับสำนัก / กอง และระดับบุคคล ขั้นตอนการจัดทำตัวชี้วัดระดับบุคคล ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับกลุ่มจังหวัด จังหวัด สู่ระดับสำนักงานประจำจังหวัด ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนักงานประจำจังหวัดพร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด ขั้นที่ 4: การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด

  31. ร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลงร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลง ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยงาน ผลลัพธ์: หน่วยราชการสามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาลงได้ โดยเฉลี่ยร้อยละ30 ขึ้นไป สถาบัน GG กำหนดมาตรการ หลักเกณฑ์ และแนวทางในการลดขั้นตอน ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยรับผิดชอบในด้านหลักเกณฑ์และแนวทาง ติดตามและประเมินผลสำเร็จในการลดขั้นตอนของหน่วยงาน ผลลัพธ์ : ประชาชนได้ใช้บริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้าง ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน (รายกรมและกระทรวง) โดยรับผิดชอบในด้านรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้องาน (function expert) OS Matrix Role Result Matrix Result Chart จัดหาและกำกับดูแลการติดตั้งInfrastructure และ Application จัดทำระบบให้บริการผ่านระบบ call center และ web-site ให้ข้อมูลในส่วนที่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงาน ภูมิภาค ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยการสนับสนุน Area Officer (รายจังหวัด) ติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการลดขั้นตอนในภาพรวมจากหน่วยงาน โดยประเมินจากประชาชนและผู้รับบริการหลังจากที่ได้นำแนวทางในการลดขั้นตอนไปปฏิบัติ เผยแพร่ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้กับหน่วยราชการและประชาชน รับทราบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลดขั้นตอน สลธ. ทุกหน่วยงาน เผยแพร่ กฎหมาย ให้คำปรึกษาและประสานการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่เป็นอุปสรรคตามข้อเสนอของส่วนราชการ (เฉพาะในบางหน่วยงานเท่านั้น) วิจัยและพัฒนา สลธ. สนับสนุนการเบิกจ่ายงบประมาณ กพร.น้อย ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับกลุ่มจังหวัด จังหวัด สู่ระดับสำนักงานประจำจังหวัด

  32. ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับสำนักงานประจำจังหวัด พร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด สิ่งที่จะวัด (What to Measure) ตัวชี้วัด (How to Measure) ระดับองค์กร ผลลัพธ์: ประชาชนรับรู้และพึงพอใจต่อการพัฒนาระบบราชการ ตัวชี้วัด: ร้อยละของประชาชนที่รับรู้และ พึงพอใจต่อการพัฒนาระบบราชการ ระดับหน่วยงาน ผลผลิต: ประชาชนได้รับการเผยแพร่และการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ จำนวนประชาชนที่ได้รับการเผยแพร่และการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ

  33. การแปลงระบบประเมินผลจากระดับจังหวัดสู่ระดับหน่วยงานการแปลงระบบประเมินผลจากระดับจังหวัดสู่ระดับหน่วยงาน ยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์หน่วยงานต้นสังกัด บทบาท หน้าที่ และ ภารกิจที่สนับสนุน วิสัยทัศน์และประเด็น ยุทธศาสตร์จังหวัด บทบาท หน้าที่ และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ราชการบริหารส่วนกลาง วิสัยทัศน์หน่วยงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด หน่วยงาน

  34. ตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชา Job Description งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับบุคคล Personal KPI ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้ง รายละเอียดของตัวชี้วัด

  35. ขั้นที่ 4:การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Families ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Description ขอบเขตผู้ใต้บังคับบัญชา

  36. การแปลงระบบประเมินผลจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคลการแปลงระบบประเมินผลจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล บทบาท หน้าที่ ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) งานที่ได้รับ มอบหมาย พิเศษ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด บุคคล

  37. ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ ตัวอย่าง รายละเอียดตัวชี้วัด (Measurement Template) • การจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ เป็นการอบรมให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน • บุคลากรภายในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว

  38. Strategy Map จังหวัดปทุมธานี ตัวอย่าง วิสัยทัศน์จังหวัด ““ปทุมธานีเป็นเมืองศูนย์กลางการศึกษาวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยี เสริมสร้างความเข้มแข็งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1. มีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ผลิตชุมชน ที่เข้มแข็งและมีความสามารถในการแข่งขัน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงการเรียนรู้แบบบูรณาการ การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัย จังหวัดปทุมธานีเป็นเมืองที่น่าอยู่ 5.เพิ่มรายได้จากสินค้าชุมชน 3.มีการลงทุนและจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 4.สินค้าเกษตรมีมูลค่า เพิ่ม 8. จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 7. มีค่าใช้จ่ายจากการท่องเที่ยวต่อหัวเพิ่มขึ้น 6.สินค้าจากผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ 1. ศูนย์กลางทางด้านการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทย 2.เป็นเมืองที่น่าอยู่สำหรับผู้เชี่ยวชาญ และนักวิชาการ ประสิทธิผล ตามพันธกิจ 11.มีสิ่งแวดล้อมที่ดี 12.มีระบบการคมนาคมที่สะดวกขึ้น 14. มีสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐานสากล 16.มีผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวมากขึ้น 17. นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจ 9.ชุมชนและผู้รับบริการได้รับการถ่ายทอดความรู้ จากงานวิจัย/ วิชาการ 10.สถาบันการ ศึกษาในทุกระดับได้รับการพัฒนา คุณภาพ การให้บริการ 13.เมืองที่มีความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน 15.มีสถาบันการศึกษาในทุกระดับที่มีคุณภาพมาตรฐานในระดับชาติ 19.มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการท่องเที่ยว 18. แหล่งท่องเที่ยวมีมาตรฐาน 24. ผู้เชี่ยวชาญมาอยู่เพิ่มขึ้น 20.มีงานวิจัยเชิงบูรณาการร่วมกัน 36. พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกในด้านการท่องเที่ยว 37. มีการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดให้มากขึ้น 30.มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้กับ SME อย่างต่อเนื่อง 26.มีการพัฒนาระบบ เครื่องมือ กลไกในการดูแลสิ่งแวดล้อม 28.พัฒนาสถาบันการศึกษาและสถานพยาบาลให้ได้มาตรฐาน 31.การสร้างเครือข่ายให้มีความเข้มแข็ง 21.ดึงสถาบัน การศึกษาให้เข้ามามีส่วนร่วมกับชุมชนมากขึ้น 22.มีการศึกษาและหาศักยภาพของสถาบันการศึกษาให้ชัดเจน 32.เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนที่มีอยู่ 34.สร้างความเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่นในกลุ่มจังหวัด ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ 27.เมืองที่มีระบบผังเมืองและการคมนาคมที่ดี 29.พัฒนาระบบความปลอดภัยและระบบข้อมูลให้ทันสมัยและเหมาะสม 38.พัฒนาแหล่งจำหน่ายสินค้า OTOP ให้เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยว 33.การทำให้ผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนมากขึ้น 23.การสร้างความร่วมมือทางการศึกษาในทุกระดับ 35.พัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงทางด้านการท่องเที่ยว 25. มีมาตรการจูงใจ พัฒนา องค์กร 39.มีงบประมาณสนับสนุนที่เพียงพอ 40. การพัฒนาระบบบริหารความรู้ 41. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

  39. ตัวอย่าง ระบบประเมินผลของจังหวัดปทุมธานี 1. การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัย 2. จังหวัดปทุมธานีเป็นเมืองที่น่าอยู่ 3. มีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชน ที่เข้มแข็งและมีความสามารถในการแข่งขัน 4. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงการเรียนรู้แบบบูรณาการ มิติด้านพัฒนาองค์กร

  40. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1. การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 (จังหวัดปทุมธานี) จำนวน 9 เป้าประสงค์ จำนวน 12 ตัวชี้วัด

  41. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. จังหวัดปทุมธานีเป็นเมืองที่น่าอยู่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 (จังหวัดปทุมธานี) จำนวน 10 เป้าประสงค์ จำนวน 14 ตัวชี้วัด

  42. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.มีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ผลิตชุมชนที่เข้มแข็งและมีความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 (จังหวัดปทุมธานี) จำนวน 8 เป้าประสงค์ จำนวน 11 ตัวชี้วัด

  43. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงการเรียนรู้แบบบูรณาการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่4 (จังหวัดปทุมธานี) จำนวน 11 เป้าประสงค์ จำนวน 12 ตัวชี้วัด

  44. ตัวอย่าง มิติด้านพัฒนาองค์กร มิติด้านพัฒนาองค์กร (จังหวัดปทุมธานี) จำนวน 3 เป้าประสงค์ จำนวน 3 ตัวชี้วัด

  45. ตัวอย่าง การแปลงระบบประเมินผลจากระดับจังหวัดสู่ระดับหน่วยงาน ยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์หน่วยงานต้นสังกัด บทบาท หน้าที่ และ ภารกิจที่สนับสนุน วิสัยทัศน์และประเด็น ยุทธศาสตร์จังหวัด บทบาท หน้าที่ และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ ของหน่วยงานต้นสังกัด วิสัยทัศน์หน่วยงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด

  46. ตัวอย่าง แผนยุทธศาสตร์สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี 1. การบูรณาการระหว่างสถาบันการศึกษาและวิจัย 2. จังหวัดปทุมธานี เป็นเมืองที่น่าอยู่ 1. เพิ่มขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการชุมชน 3. มีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ผลิตชุมชนที่เข้มแข็งและมีความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี 2. ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถ การดำเนินการด้านเศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจชุมชน 4. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงการเรียนรู้แบบ บูรณาการ วิสัยทัศน์ “สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี เป็นหน่วยงานหลักของจังหวัดในการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมและกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อสร้างพลังชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถ การดำเนินการด้านเศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจชุมชน ชุมชนในจังหวัดมีความเข้มแข็ง

  47. Strategy Map สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถ การดำเนินการด้านเศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจชุมชน ชุมชนในจังหวัดมีความเข้มแข็ง 2.เพิ่มรายได้จากสินค้าชุมชน 3.สินค้าจากผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ 1.ชุมชนในจังหวัดมีความเข้มแข็ง ประสิทธิผลตามพันธกิจ 4.พัฒนาศักยภาพ ของผู้นำชุมชน 7.เพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนที่มีอยู่ 8.การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เพิ่มขึ้น คุณภาพการให้บริการ 5.พัฒนาศักยภาพ ขององค์กร 9.ทำให้ผู้ประกอบการและผู้ผลิตชุมชนสามารถเข้าถึงเงินทุน 6.พัฒนาศักยภาพ ของเครือข่าย 12.พัฒนาขวัญและกำลังใจ 10.พัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร 11. พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาองค์กร

  48. ตัวอย่าง ระบบประเมินผลของสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี 1. ชุมชนในจังหวัดมีความเข้มแข็ง 2. ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถ การดำเนินการด้านเศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจชุมชน มิติด้านพัฒนาองค์กร

  49. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1. ชุมชนในจังหวัดมีความเข้มแข็ง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 (สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด) จำนวน 4 เป้าประสงค์ จำนวน 6 ตัวชี้วัด

  50. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถการดำเนินการด้านเศรษฐกิจชุมชนและวิสาหกิจชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 (สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด) จำนวน 5 เป้าประสงค์ จำนวน 6 ตัวชี้วัด

More Related