1 / 14

ผู้จัดทำ นางสาว พิมผกา ปัญญาโล เด็กหญิง พัชรมัย การะเกตุ เด็กหญิง ปภาวรินทร์ คำลือ

ผู้จัดทำ นางสาว พิมผกา ปัญญาโล เด็กหญิง พัชรมัย การะเกตุ เด็กหญิง ปภาวรินทร์ คำลือ. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๓/๖ โรงเรียนพานพิทยาคมเขตพืนที่การศึกษา๓๖. เรื่อง เสียง ( Sound) หรือ ออดิโอ ( Audio). เสียง ( Sound). ความดังของสียง. องค์ประกอบของเสียง. การผสมสัญญาณเสียง. อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง.

Download Presentation

ผู้จัดทำ นางสาว พิมผกา ปัญญาโล เด็กหญิง พัชรมัย การะเกตุ เด็กหญิง ปภาวรินทร์ คำลือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้จัดทำนางสาว พิมผกา ปัญญาโลเด็กหญิง พัชรมัย การะเกตุเด็กหญิง ปภาวรินทร์ คำลือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๓/๖ โรงเรียนพานพิทยาคมเขตพืนที่การศึกษา๓๖

  2. เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio) เสียง (Sound) ความดังของสียง องค์ประกอบของเสียง การผสมสัญญาณเสียง อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง ประเภทของเสียง มิดี้ ดนตรีแบบดิจิตอล อุปกรณ์บันทึกเสียง อุปกรณ์บันทึกเสียง การประมวลผลไฟล์เสียง การประมวลผลไฟล์เสียง สรุป

  3. เสียง (Sound) เสียง (Sound)อยู่ในรูปแบบของพลังงาน (Energy) เหมือนกับพลังงานความร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light) ที่สามารถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่นที่ประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียง ตัวอย่างเช่น เมื่อสั่นกระดิ่งจะเกิดเป็นพลังงานเดินทางผ่านตัวกลางที่เป็นอากาศเพื่อถ่ายทอดพลังงานดังกล่าว และสะท้อนมายังหูของมนุษย์ เป็นต้น โดยปกติมนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮิรซต์ ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตเสียงได้เข้ามีบทบาทในการใช้ชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ทำให้เกิดวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่เรียกว่า “อะคูสติกเอ็นจิเนียร์ริ่ง (Acoustic Engineering)”ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง (Generation) การถ่ายทอด (Transmission) และการรับ (Reception) คลื่นเสียง กลับ

  4. กลับ

  5. องค์ประกอบของระบบเสียงองค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer) กลับ

  6. อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ เช่น สามารถควบคุมระดับของเสียง (Volumn) จังหวะ (Tempo) และระงับเสียง (Mute) ซึ่งการแก้ไขและจัดการแทร็กเสียงต่างๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อแทร็กอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มเอฟเฟ็กต์เสียงแบบพิเศษ เช่น เสียงคอรัส เสียงเอคโค หรือเสียงจากอุปกรณ์ไฟฟ้าได้ จากนั้นแทร็กเหล่านี้จะถูกผสมผสานในช่องสัญญาณ หากเป็นระบบเสียงสเตอริโอจะใช้ 2 ช่องสัญญาณ แต่ถ้าเป็นระบบเสียงเซอราวด์จะใช้มากกว่า 2 ช่องสัญญาณขึ้นไป กลับ

  7. ประเภทของเสียง ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เสียงแบบมิดี้ และเสียงแบบดิจิตอล โดยมีรายละเอียด ดังนี้ กลับ

  8. มิดี้ (MIDI: Musical Instrument Digital Interface) มิดี้ (MIDI) คือเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ซึ่งได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 สำหรับใช้กับเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เช่น สร้างเสียงตามเครื่องเล่นเปียโน เป็นต้น โดยในมุมของนักดนตรี มิดี้ หมายถึง โน้ตเพลงที่มีรูปแบบเป็นสัญลักษณ์หรือตัวเลขที่บอกให้รู้ว่าต้องเล่นตัวโน๊ตใดด้วยระยะเวลาเท่าไหร่ เพื่อให้เกิดเป็นเสียงดนตรี ดนตรีแบบมิดี้จะไม่เหมือนเสียงจากเครื่องดนตรีจริงๆ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องสร้างและปรับเสียงมิดี้ให้มีความไพเราะมากยิ่งขึ้น โดยไมโครซอฟต์ได้กำหนดมาตรฐานของเสียงแบบมิดี้ขึ้นมา เรียกว่า GM (General MIDI Standard) ซึ่งใช้กำหนดรูปแบบของการสร้างข้อมูลเสียงแบบ MIDI เพื่อให้การเล่นเสียง (Playback) บนอุปกรณ์ต่างๆเป็นมาตรฐานเดียวกัน ข้อดีของมิดี้ คือ ไฟล์ข้อมูลมีขนาดเล็ก การสร้างข้อมูลมิดี้ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องดนตรีจริงๆ ใช้หน่วยความจำน้องทำให้ประหยัดพื้นที่บนฮาริดดิสก์ เหมาะสำหรับใช้งานบนระบบเครือข่าย และง่ายต่อการแก้ไขและปรับปรุง ส่วนข้อเสียคือการแสดงผลได้เฉพาดนตรีบรรเลงและเสียงที่เกิดจากโน้ตดนตรีเท่านั้น กลับ

  9. ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) คือสัญญาณเสียงที่ส่งมากจากไมโครโฟนหรือเล่นเทป หรือจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากธรรมชาติ และที่สร้างขึ้นเอง และนำข้อมูลที่ได้มาแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลจะถูกสุ่มให้อยู่ในรูปแบบของบิตข้อมูล โดยเรียกอัตราการสุ่มข้อมูลที่ได้มาว่า “Sampling Rate” และจำนวนของข้อมูลที่ได้เรียกว่า “Sampling Size” ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดคุณภาพของเสียงดิจิตอล เสียงแบบดิจิตอลจะมีขนาดข้อมูลใหญ่ ทำให้ต้องใช้หน่วยความจำและทรัพยากรในการประมวลผลมากกว่ามิดี้ แต่จะแสดงได้หลากหลายและเป็นธรรมชาติมากกว่า การเข้ารหัสเสียงลงบน CD เพลงทั่วไปให้มีคุณภาพสูงจะต้องได้มาตรฐาน ISO 10149 หรือที่เรียกว่ามาตรฐาน “Red Book” มาตรฐานนี้ได้กำหนด Sampling Rate ไว้ที่ 44.1 KHz และ Sampling Size อยู่ที่ 16 บิต ซึมาตรฐานดังกล่าวยังถูกใช้มาจนถึงปัจจุบัน กลับ

  10. อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device) ในปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับจัดเก็บ และบันทึกข้อมูลเสียงหลากหลายชนิด ดังนี้ Compact Disc Digital Audio System ซีดี (CD: Compact Disc) หรือออดิโอซีดี (Audio-CD) ได้รับการพัฒนาโดย Philip และ Sony ซึ่ง เป็นออปติคอลดิสก์ ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูลดิจิตอล (เช่น ไฟล์เสียงจิติอล เป็นต้น) โดยมีอัตรา สุ่มเสียงดิจิติอลที่ 44.1 กิโลเฮิรตซ์ ด้วยขนาด 16 บิต ขนาดของแผ่นดิสก์จะมีเส้นผ่านศูนย์กลาง อยู่ที่ 120 มิลลิเมตร และสามารถบันทึกเสียงได้ถึง 74 นาที กลับ

  11. อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device) Digital Audio Tape (DAT) เป็นเทปเสียงจิติอลที่มีขนาดเล็ก ซึ่งสามารถจัดเก็บเสียงดิจิตอลได้ด้วยอัตราสุ่มหลายรูปแบบ เช่น 32 กิโลเฮิรตซ์ 44.1 กิโลเฮิรตซ์ และ 48 กิโลเฮิรตซ์ เป็นต้น สามารถจัดเก็บข้อมูลดิจิตอล ต้นฉบับได้อย่างถูกต้องแม่นยำ Digital Data Storage (DDS) เป็นเทปแม่เหล็กที่ใช้สำหรับจัดเก็บและสำรองข้อมูลที่พัฒนาต่อจากเทคโนโลยี Digital Audio Tape (DAT) ในปี ค.ศ. 1989 โดย Sony และ Hewlett Packard ได้พัฒนา DSS เพื่อใช้สำหรับ จัดเก็บข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายเทป DAT โดยเทปมีความกว้าง 4 มิลลิเมตร และยาวตั้งแต่ 60 – 90 เมตร มีอายุการใช้งานอย่างน้อย 10 ปี นอกจากนี้ยังเพิ่มเทคโนโลยี Helical Scanning เพื่อใช้ สำหรับบันทึกข้อมูลได้อย่างเร็วขึ้น กลับ

  12. การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Sound) การประมวลผลไฟล์เสียง (processing Sound) คือ กระบวนการต่างๆตั้งแต่นำไฟล์เสียงเข้าสู่โปรแกรมสำหรับสร้าหรือแก้ไขเสียงโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม MidiNotateเป็นต้น จากนั้นจะปรับแต่ง แก้ไข หรือเพิ่มเติมตัวโน้ตต่างๆเข้าไปตามความต้องการ แล้วทำการทดสอบเสียงที่ได้ และนำไฟล์เสียงไปใช้งานต่อไป ปัจจุบันโปรแกรมเกี่ยวกับการบันทึกเสียงและโปรแกรมที่ช่วยในการทำงานกับเสียงจะมีขีดความสามารถในการทำงานสูงมากขึ้น ในขณะที่อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์สำหรับใช้ในการสนับสนุนในการทำงานเกี่ยวกับเสียงนั้น ยังมีความสามารถไม่เพียงพอที่จะรองรับการทำงานเหล่านี้ได้ หรืออาจมีราคาสูงเกินไปทำให้เกิดข้อจำกัดการสร้างไฟล์เสียงที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น การประมวลผลไฟล์เสียงมีขั้นตอน ดังนี้ กลับ

  13. การประมวลผลไฟล์เสียงมีขั้นตอน ดังนี้ • การบันทึกหรือการนำเข้าข้อมูลเสียง • การแก้ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ กลับ

  14. สรุป เสียง(Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชมได้ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับงานมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจแก่ผุ้ชมงานนำเสนอได้ เสียง(Audio) อยู่ในรู)ของแบบพลังงาน(Energy) เหมือนพลังงานความร้อน (Hert)และพลังงานแสง (Light) ที่สามรรถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงให้อยู่ในรูปแบบคลื่นเสียงประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่(Frequency) โดนปกติกมนุษย์ สามมารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 20ถึง20,000 เฮริต์ กลับ

More Related