130 likes | 283 Views
การจัดงบประมาณของโครงการ. นางสาว พิศมัย นามอินทร์ นางสาว ศิริวรรณ แก้วจันดา. การจัดงบประมาณของโครงการ. งบประมาณของโครงการ ( Project budgeting ) หมายถึง การใช้จ่ายทรัพยากรขององค์การและแผนการจัดสรรทรัพยากรสำหรับกิจกรรมต่างๆของโครงการ
E N D
การจัดงบประมาณของโครงการการจัดงบประมาณของโครงการ นางสาวพิศมัย นามอินทร์ นางสาวศิริวรรณ แก้วจันดา
การจัดงบประมาณของโครงการการจัดงบประมาณของโครงการ • งบประมาณของโครงการ (Project budgeting) หมายถึง การใช้จ่ายทรัพยากรขององค์การและแผนการจัดสรรทรัพยากรสำหรับกิจกรรมต่างๆของโครงการ • ความสำคัญของการจัดงบประมาณโครงการ ช่วยทำให้โครงการสามารถดำเนินไปได้เป็นแผนการเงินที่จะใช้ทรัพยากรทำให้โครงการบรรลุ วัตถุประสงค์ บรรลุเป้าหมาย
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณโครงการแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณโครงการ
กระบวนการงบประมาณกับมาตรฐานการจัดการทางการเงินกระบวนการงบประมาณกับมาตรฐานการจัดการทางการเงิน
มาตรฐานทางการเงิน7 ประการ 1. การวางแผนงบประมาณ (BudgetingPlanning) การวางแผนกลยุทธ์ มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ผลผลิต สร้างแผนงานและตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน การจัดทำประมาณการรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง(MTEF) ทำให้มีการวางแผนงบประมาณล่วงหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ
2. การกำหนดผลผลิตและการคำนวณต้นทุน ต้องกำหนดให้ชัดเจนทั้งด้านปริมาณ คุณภาพ เวลาและต้นทุน ซึ่งจะเป็นข้อมูลนำไปสู่การคิดค่าใช้จ่าย 3. ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างให้มีประสิทธิภาพตามระบบมุ่งเน้นผลงานที่เน้นผลผลิตและผลลัพธ์
หลักปฏิบัติในระบบจัดซื้อจัดจ้างหลักปฏิบัติในระบบจัดซื้อจัดจ้าง • - มีพันธกิจที่ชัดเจน • เน้นการผูกพันและให้คำมั่นร่วมกันเพื่อมุ่งสู่พันธกิจ • ผู้ซื้อมีอำนาจมากขึ้น • เน้นความประพฤติที่มีจริยธรรม • มีข้อมูลที่ถูกต้องและทันต่อเวลา • บุคลากรมีคุณภาพสูง • การดำเนินการเป็นทีมเพื่อแก้ปัญหา • มีวิธีการที่ได้รับการวางแผนอย่างดี • การทำสัญญยที่ปลอดภัย • มีผลการดำเนินงานที่สามารถวัดได้
4. การบริหารการเงินและการควบคุมงบประมาณ หน่วยงานจะต้องกำหนดรายการและโครงสร้างทางบัญชี เอกสารหลักฐานที่จำเป็น มีระบบการควบคุมการเบิกจ่ายและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ระบบบัญชีปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน เป็นระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างที่เรียกว่า บัญชีเกณฑ์พึงรับ-พึงจ่าย (Accrual Besis)
5. การบริหารสินทรัพย์ (Asset Management) ผู้บริหารตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารสินทรัพย์ กำหนดขอบเขตความรับผิดชอบต่อสินทรัพย์อย่างชัดเจน ลงทะเบียนควบคุมสินทรัพย์อย่างครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน คิดค่าบริการจากสินทรัพย์อย่างเหมาะสม มีระเบียบแนวปฏิบัติสนับสนับสนุนให้ใช้สินทรัพย์อย่างคุ้มค่า คำนึงถึงทางเลือกการเช่าแทนการซื้อสินทรัพย์ มีการวางแผนล่วงหน้าในการจัดหาและทดแทนสินทรัพย์เดิม
6. การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน นำเสนอข้อมูลทางการเงินให้แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องทราบว่าผลการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ หรือมีความสามารถในการบริหารการเงินให้เกิดประสิทธิผลอย่างไร การรายงานผลการดำเนินงานเป็นการเปรียบเทียบผลผลิตกับเป้าหมายซึ่งจะต้องรายงานทั้งปริมาณ คุณภาพ เวลาและต้นทุน รายงานในรูปแบบรายงานประจำปี
7.การตรวจสอบภายใน การตรวจสอบทางการเงิน การตรวจสอบการดำเนินงาน ความสำเร็จหรือประสิทธิผล ความสามารถในการผลิตหรือประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร ต้นทุนหรือความประหยัดในการใช้ทรัพยากร
การจัดทำประมาณการล่วงหน้าระยะปานกลางการจัดทำประมาณการล่วงหน้าระยะปานกลาง
กรอบประมาณการค่าใช้จ่ายระยะปานกลาง(MTEF)กรอบประมาณการค่าใช้จ่ายระยะปานกลาง(MTEF) แผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี แผนปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา