1 / 62

Human Respiratory System

Human Respiratory System. การหายใจของคนประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ. 1. การหายใจภายนอก ( external respiration) เป็นการนำอากาศเข้าสู่ปอด การแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างปอดกับเลือด

banyan
Download Presentation

Human Respiratory System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Human Respiratory System

  2. การหายใจของคนประกอบด้วย 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ 1. การหายใจภายนอก ( external respiration) เป็นการนำอากาศเข้าสู่ปอด การแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างปอดกับเลือด 2. การหายใจภายใน (internal respiration) การขนส่งแก๊สจากเลือดไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อ ซึ่งจะทำให้ได้พลังงานในรูปของความร้อน และ ATP

  3. Cilia Mucous Membranes Blood capillaries Epiglottis vocal cord C ring สายเสียง http://www.youtube.com/watch?v=iYpDwhpILkQ

  4. bronchi

  5. เยื่อหุ้มปอด (pleural membrane) • ช่องอก (thoracic cavity)

  6. กิจกรรมที่ 6.1การศึกษาลักษณะและโครงสร้างของปอดหมูหรือปอดวัว วัสดุอุปกรณ์ • ปอดหมูหรือปอดวัว • เครื่องมือผ่าตัด ถาดผ่าตัด • สายยางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 cm • ถุงมือยาง • ที่สูบลม

  7. วิธีทดลอง ให้นักเรียนสวมถุงมือยาง นำปอดไปล้างให้สะอาดและดำเนินการดังนี้ 1.ให้พิจารณาลักษณะและโครงสร้างของปอด

  8. 2.ตัดส่วนอื่น ๆ ออกเหลือแต่ท่อลมและปอด ลองใช้นิ้วมือบีบแล้วปล่อย สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จากนั้นสังเกตการจัดเรียงตัวของกระดูกอ่อน และรูปร่างของกระดูกอ่อนที่ประกอบกันเป็นท่อลม

  9. 3.เลาะเนื้อเยื่อตรงรอยต่อของท่อลมและหลอดลม (bronchus) เพื่อหาตำแหน่งของหลอดลม ใช้สายยางสอดเข้าไปในท่อลมแล้วใช้ที่สูบลม สูบลมเข้าไป แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงของปอด (ห้ามใช้ปากเป่า)

  10. 4. กรีดหลอดลมแล้วช้าสายยางสอดเข้าไปที่หลอดลม ใช้ที่สูบลม สูบลมเข้าไป สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และผ่าเนื้อปอดบริเวณต่าง ๆ ที่ยังคงเห็นหลอดลมอยู่ เพื่อศึกษาการแตกแขนงของหลอดลม

  11. 5.สังเกตการเรียงลำดับของทางเดินอากาศตั้งแต่หลอดลม ว่าจะไปสิ้นสุดที่ใด 6.วาดรูปโครงสร้างของปอดพร้อมทั้งกับชี้ส่วนประกอบ

  12. ผลการทดลอง • สรุปผลการทดลอง

  13. คำถามหลังการทดลอง • ปอดมีสีอะไรเพราะเหตุใดจึงมีสีเช่นนั้น • ลักษณะรูปร่างและขนาดของปอดซ้ายและปอดขวาที่นักเรียนสังเกตได้มีความแตกต่างกันอย่างไร • เมื่อใช้นิ้วมือบีบท่อลมแล้วปล่อยท่อลมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร • ลักษณะของท่อลมการจัดเรียงตัวของกระดูกอ่อน ลักษณะของกระดูกอ่อนและถุงลมมีความเหมาะสมต่อการทำหน้าที่อย่างไร

  14. กลไกการสูดลมหายใจเข้าออกกลไกการสูดลมหายใจเข้าออก อากาศเข้าสู่ปอดได้อย่างไร

  15. กลไกการหายใจเข้า-ออก • ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน ศึกษาจากหนังสือเรียนใช้เวลาประมาณ 10 นาที • แต่ละกลุ่มทำแบบทดสอบ

  16. การหายใจเข้า (inspiration) • กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบนอก หดตัว คลายตัว • กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบใน หดตัว คลายตัว • กระดูกซี่โครงยก สูงขึ้น ต่ำลง • กะบังลม หดตัวเคลื่อนต่ำลง คลายตัวยกสูงขึ้น • ปริมาตรปอด เพิ่มขึ้น ลดลง • ความดันภายในปอด เพิ่มขึ้น ลดลง • กล้ามเนื้อหน้าท้อง คลายตัวท้องป่อง หดตัวท้องแฟบ ฝ ฝ

  17. การหายใจออก (expiration) • กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบนอก หดตัว คลายตัว • กล้ามเนื้อยึดซี่โครงแถบใน หดตัว คลายตัว • กระดูกซี่โครงยก สูงขึ้น ต่ำลง • กะบังลม หดตัวเคลื่อนต่ำลง คลายตัวยกสูงขึ้น • ปริมาตรปอด เพิ่มขึ้น ลดลง • ความดันภายในปอด เพิ่มขึ้น ลดลง • กล้ามเนื้อหน้าท้อง คลายตัวท้องป่อง หดตัวท้องแฟบ ฝ

  18. การสูดลมหายใจเข้าของมนุษย์จัดเป็นแบบ negative breathing • กบสูดลมหายใจเป็นแบบ positive breathing

  19. ศึกษาปริมาตรของอากาศในปอดของคนด้วยเครื่อง  สไปโรมิเตอร์ (Spiro meter) ดังกราฟ

  20. กลไกการแลกเปลี่ยนแก๊สของคนเกิดขึ้นสองบริเวณ ถุงลมเนื้อเยื่อ

  21. hemoglobin (Hb) เกิดจาก polypeptide 4 สายมารวมกัน มี Fe เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ จับกับแก๊สได้หลายชนิด

  22. จับกับ O2 ที่ตำแหน่งอะตอมของ Fe ได้เป็น oxyhemoglobin (HbO2)

  23. จับกับ CO2 ได้เป็น carbaminohemoglobin (HbCO2)

  24. จับกับ CO ได้เร็วมาก ที่ตำแหน่งอะตอมของ Fe ได้เป็น carboxyhemoglobin (HbCO) • หากจับกับ CO มากเกินไปทำให้ร่างกายขาด O2 ถึงตายได้

  25. การลำเลียงและการแลกเปลี่ยน O2 • การลำเลียง O2 ในเลือดมี 2 วิธี 1. 1.5% ละลายอยู่ในน้ำเลือด2. 98.5% ลำเลียงโดย Hbในเม็ดเลือดแดง

  26. การลำเลียงและการแลกเปลี่ยน O2 oxyhemoglobin

  27. deoxygenated blood oxygenated blood partial pressure

  28. สามารถสรุปได้ดังสมการสามารถสรุปได้ดังสมการ ถุงลม Hb + O2 HbO2 เนื้อเยื่อ http://www.youtube.com/watch?v=XTMYSGXhJ4E

  29. การลำเลียงและการแลกเปลี่ยน CO2 1. 10% ละลายอยู่ในน้ำเลือด 2. 20% ลำเลียงโดยฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง3. 70% รวมตัวกับน้ำ โดย carbonic anhydraseในเม็ดเลือดแดง ได้ H2CO3 แล้วแตกตัวเป็น H+ และ HCO3‑

  30. Chloride shift , Hamburger shift

  31. การลำเลียงและการแลกเปลี่ยน CO2 • ส่วนใหญ่จะละลายอยู่ในน้ำเลือด • ส่วนน้อยลำเลียงไปทางฮีโมโกลบิน • บริเวณเนื้อเยื่อCO2 แพร่จากเนื้อเยื่อเข้าสู่เลือด • CO2 จะรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำกลายเป็นกรดคาร์บอนิก (H2CO3) และถูกกระตุ้นโดย carbonic anhydrase ที่อยู่ในเม็ดเลือดแดง • กรดคาร์บอนิกไม่อยู่ตัวจึงสลายเป็น H+กับ HCO3-

More Related