1 / 42

4 กรกฎาคม 2556

ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพ หน่วยบริการสุขภาพของ อปท. 4 กรกฎาคม 2556. นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แนวโน้มการบริหารกองทุนประกันสุขภาพ ของประเทศไทย. สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการ. ท้องถิ่นกับ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแก่กลุ่มเฉพาะ

ban
Download Presentation

4 กรกฎาคม 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพ หน่วยบริการสุขภาพของ อปท. 4 กรกฎาคม 2556 นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  2. แนวโน้มการบริหารกองทุนประกันสุขภาพของประเทศไทย

  3. สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการสิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการ

  4. ท้องถิ่นกับกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  5. การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแก่กลุ่มเฉพาะ • อปท. • แรงงานอพยพ • การเป็น National Clearing House • รับข้อมูลเพื่อประมวลผลการจ่ายเงินชดเชยจะส่งข้อมูลให้กับกองทุนต่างๆ เพื่อให้กองทุนต่างๆ จ่ายเงินให้หน่วยบริการตามที่ได้ตกลงกัน • การศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสวัสดิการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ (Long Term Care) • Financing • Health care package: health promotion for quality aging

  6. การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ 1.จำนวนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโรคหรือปัญหาสุขภาพ 2.ความรุนแรงของโรคหรือปัญหาสุขภาพ 3.ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 4.ความแตกต่างในทางปฏิบัติ 5.ผลกระทบทางเศรษฐกิจของครัวเรือน 6.ความเป็นธรรมและประเด็นทางสังคมและจริยธรรม สถานบริการสาธารณสุข ที่ถ่ายโอนพัฒนาระบบบริการอย่างไร ?? เพื่อตอบสนองประชาชนผู้รับบริการ

  7. อนาคตการสร้างหลักประกันสุขภาพอนาคตการสร้างหลักประกันสุขภาพ

  8. การบูรณาการ 3 ระบบประกันสุขภาพของประเทศ • ดำเนินการแล้ว 1.ฉุกเฉิน 3 กองทุน 2.การรักษาไต เอดส์ มาตรฐานเดียว • รอการดาเนินการ 1.ระบบบริหารมะเร็งมาตรฐานเดียว 2.ระบบบริการผู้สูงอายุ 3.ระบบบริการผู้ป่วยระยะสุดท้าย

  9. จากกราฟ • 1.โดยรวมทั้งประเทศ.. ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลต่อรายได้ประชาชาติค่อนข้างคงที่ ทั้งก่อนและหลังการมีระบบประกันสุขภาพ • 2.กองทุนทั้ง 3 รับภาระมากขึ้นจากเฉลี่ย 52% เป็น 66% และเมื่อมีระบบประกันสุขภาพ ทำให้ประชาชนและเอกชนรับภาระน้อยลง 12% (จาก 48% เหลือ 34% โดยเฉลี่ย 2002-2010 และ เหลือ 25% ในปี 2010) • 3.ระบบสาธารณสุขพื้นฐาน (ก.สาธารณสุข และ ประกันสุขภาพ) เพิ่มสัดส่วนขึ้นโดยเฉลี่ย 7% (31% เป็น 38%) แลกมาด้วยการที่คนไทยทุกคนเข้าระบบประกันสุขภาพได้ • 4.ค่าใช้จ่ายของราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มสัดส่วนขึ้นโดยเฉลี่ย 8% (จาก 16% เป็น 24%) โดยในปี 2010 มีสัดส่วน 27% • 5.ประกันสังคม (จ่ายโดยไตรภาคี) เพิ่มบทบาทขึ้น 3 % (จาก 4% เป็น 7%) โดยในปี 2010 รับผิดชอบ 8% ของรายจ่ายรักษาพยาบาลทั้งประเทศ 17% 27% 8% 25% 22%

  10. จากกราฟ • 1.ในขณะที่ GDP มูลค่าตลาด ขยายตัวประมาณ 6.5% (4.5% ขยายตัวจริง 2 % อัตราเงินเฟ้อ) แต่หากปล่อยให้เหมือน 5 ปีที่ผ่านมาค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาลอาจขยายตัวปีละ 9% และจะมีสัดส่วน 6.6% ของ GDP ในอีก 8 ปีข้างหน้า (2020) • 2.ระบบสาธารณะสุขภายใต้ระบบประกันสุขภาพเพิ่มสัดส่วนขึ้น 4% (38% เป็น 42%) • 3.ราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มสัดส่วนขึ้น 17% (จาก 24% เป็น 41%) • 4.ประกันสังคม (จ่ายร่วมในไตรภาคี) ลดบทบาทลง 1 % (จาก 7% เป็น 6%)

  11. การเปลี่ยนแปลงของกระทรวงสาธารณสุขการเปลี่ยนแปลงของกระทรวงสาธารณสุข

  12. Executives Scenario ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค

  13. National Health Authority Envisioning, Leading, Directing, Strategic Formulation, Risk Mitigation, Integration, Good Governance National Information Center, National Claim Center(สปสช.) Quality Improvement, Efficiency Improvement, Logistic Support, Reengineering, Reprocess, Monitoring Provider Regulator Purchaser Workforce HRM Professional Non-Professional Capacity Building Motivation Innovation R/D Prevention Promotion Treatment Rehabilitation UC/Non UC Quality Improvement Accessibility Efficiency Effectiveness Excellency Innovation R/D Strategy to Operation Planning GuideLine Co-ordination Prioratization Audit, Monitor Evaluation Measurement Technical Assessment Technical Support Innovation, R/D Standardization Definition Benefit Package Financing Purchasing Payment Mechanism Cost Effective Analysis Innovation R/D Health Communication Participation บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม Healthy, Quality of life ,CRM, CSR, Health Literacy, Civil Society Selective Strengthening

  14. Central Level National Health Authority สธ.สปสช.สช.สสส.สวรส. สภาวิชาชีพ อื่น ๆ National Information Center, National Claim Center(สปสช.) รองปลัดกระทรวง, ผู้ตรวจราชการ. สาธารณสุขนิเทศก์, ผู้ทรงคุณวุฒิ Workforce Provider Regulator Purchaser สภาวิชาชีพ สบช. สำนักมาตรฐานการพยาบาล กลุ่มบริหารบุคคล สนย. New Structure สบรส., โครงการเฉพาะ, สบฉ. กลุ่มประกัน, สนย. New Structure กรมอนามัย กรมแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมแพทย์แผนไทย กรมวิทย์ สรป. IHPP กลุ่มกฎหมาย สนย. HITAP กรมวิชาการทั้งหมด อย. สารนิเทศ IT New Structure สปสช. สสส. สพฉ. Health Communication (Health Channel) Participation กรมสบส. บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม

  15. Regional Level Purchaser อปสข. Regulator ผู้ตรวจราชการ Provider คปสข.

  16. Provincial Level National Information Center, National Claim Center,(สปสช.) ประกันสังคม จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด Area Health Service Authority Regulator Workforce Provider Purchaser โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต., สอ. สสอ. โรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลรัฐอื่น โรงพยาบาลเอกชน

  17. National Health Authority Function

  18. บทบาท National Health Authority ที่ต้องพัฒนา strategy Knowledge Management Tech. Assessment Service Standard Surveillance Law&Regulate Global & international Health M&E Financing Information HR Regional Health • การกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศบนข้อมูลและฐานความรู้ • การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ • การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ • การกำหนดรับรองมาตรฐานบริการต่างๆ • การพัฒนาระบบกลไกเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ • การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนาและดูแลสุขภาพประชาชน • การพัฒนางานสุขภาพโลกและความร่วมมือระหว่างประเทศ • การกำกับดูแล ติดตามและประเมินผลของภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน • การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพของประเทศ • การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียวมีคุณภาพใช้งานได้ • การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ • เขตสุขภาพ

  19. จุดมุ่งหมายสุดท้ายของระบบบริการที่จับต้องได้จุดมุ่งหมายสุดท้ายของระบบบริการที่จับต้องได้ • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ใช้ตัวชี้วัดการพัฒนาสุขภาพ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ จำนวน 66 ตัวชี้วัด • สถานบริการที่ถ่ายโอนยังต้องดำเนินการสอดคล้องกับการพัฒนาสุขภาพตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และการแก้ปัญหาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ • การพัฒนาสุขภาพ ยังต้องดำเนินการให้ได้มาตรฐาน

  20. สวัสดี

More Related