1 / 22

มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller)

มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller). ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรยงวุฒิ จุลละโพธิ มหาวิทยาลัยมหิดล (คณะวิศวกรรมศาสตร์). ความเป็นมาและแนวทางในการดำเนินมาตรการ. ความเป็นมาของมาตรการ

gene
Download Presentation

มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรยงวุฒิ จุลละโพธิ มหาวิทยาลัยมหิดล(คณะวิศวกรรมศาสตร์)

  2. ความเป็นมาและแนวทางในการดำเนินมาตรการความเป็นมาและแนวทางในการดำเนินมาตรการ • ความเป็นมาของมาตรการ เครื่องทำน้ำเย็นที่ใช้สำหรับระบบปรับอากาศ/ระบบหล่อเย็นสำหรับกระบวนการผลิต ภายในสถานประกอบการ มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูง เนื่องจากมีการใช้งานเครื่องทำน้ำเย็นมาเป็นเวลานานแล้ว ส่งผลให้ประสิทธิภาพของเครื่องทำน้ำเย็นต่ำ • แนวทางในการดำเนินมาตรการ (1) มาตรการปรับปรุงเครื่องทำน้ำเย็น (2) มาตรการเปลี่ยนเครื่องทำน้ำเย็นประสิทธิภาพสูง (3) มาตรการติดตั้งเครื่องทำน้ำเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller)** หมายเหตุ ** มาตรการที่ (3) ต้องมีพลังงานความร้อนเหลือทิ้ง (เช่น ไอน้ำ)

  3. แนวทางในการตรวจวัดและพิสูจน์ผลการอนุรักษ์พลังงาน สำหรับสถานประกอบการ • ข้อมูลที่จำเป็น • เครื่องมือตรวจวัด • วิธีการตรวจวัด (3.1) วิธีการตรวจวัดและการคำนวณก่อนการปรับปรุง (3.2) วิธีการตรวจวัดและการคำนวณหลังการปรับปรุง (4) การประเมินผลประหยัด

  4. (1) ข้อมูลที่จำเป็น • ประเภทการระบายความร้อนของเครื่องทำน้ำเย็น (ระบายความร้อน ด้วยน้ำหรืออากาศ) • ขนาดพิกัดกำลังติดตั้งของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และขนาดพิกัด การทำความเย็น • แผนผังแสดงรายละเอียดของระบบที่เกี่ยวข้อง • ชั่วโมงการทำงานของเครื่องทำน้ำเย็นในแต่ละเดือน (ครบรอบ 1 ปี)

  5. (2) เครื่องมือตรวจวัด • เครื่องวัดกำลังไฟฟ้า • เครื่องวัดอัตราการไหลของน้ำเย็น • เครื่องวัดอุณหภูมิน้ำเย็น และน้ำระบายความร้อน (สำหรับ Chiller แบบระบายความร้อนด้วยน้ำ) หรืออุณหภูมิอากาศ (สำหรับ Chiller แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ)

  6. ตัวอย่างเครื่องวัดกำลังไฟฟ้าตัวอย่างเครื่องวัดกำลังไฟฟ้า

  7. ตัวอย่างเครื่องวัดอัตราการไหลตัวอย่างเครื่องวัดอัตราการไหล

  8. ตัวอย่างเครื่องวัดอุณหภูมิตัวอย่างเครื่องวัดอุณหภูมิ

  9. (3.1) วิธีการตรวจวัดก่อนการปรับปรุง • บันทึกกำลังไฟฟ้า (kW) ที่ใช้ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ • บันทึกอัตราการไหล (L/min) อุณหภูมิ (C) ขาเข้าและออกของน้ำเย็น (3.1) บันทึกอุณหภูมิน้ำระบายความร้อนขาเข้าเครื่องทำน้ำเย็น (C) (สำหรับเครื่องทำน้ำเย็นแบบระบายความร้อนด้วยน้ำ) หรือ (3.2) บันทึกอุณหภูมิอากาศเข้าเครื่องทำน้ำเย็น (C) (สำหรับเครื่องทำน้ำเย็นแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ) (4) บันทึกค่าต่างๆ ในขณะเวลาเดียวกัน ทุกๆ 15 นาที เป็นระยะเวลาครบรอบการทำงานใน 1 สัปดาห์

  10. วิธีการคำนวณ ค่าพลังไฟฟ้าต่อตันความเย็น โดยที่ kW คือ กำลังไฟฟ้าที่ใช้ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ (kW) Ton คือ ความสามารถในการทำความเย็น มีหน่วยเป็นตันความเย็น (Ton) ซึ่งหาได้จาก F คือ ปริมาณน้ำเย็นที่ไหลผ่านส่วนทำความเย็น (L/min) Tr คือ อุณหภูมิของน้ำเย็นที่ไหลเข้าส่วนทำความเย็น (C) Ts คือ อุณหภูมิของน้ำเย็นที่ไหลออกจากส่วนทำความเย็น (C)

  11. ค่าแก้ไข (Correction Factor)

  12. ตารางค่าแก้ไข ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

  13. (3.2) วิธีการตรวจวัดหลังการปรับปรุง สำหรับมาตรการปรับปรุงเครื่องทำน้ำเย็น และมาตรการเปลี่ยนเครื่องทำน้ำเย็นประสิทธิภาพสูง • บันทึกกำลังไฟฟ้า (kW) ที่ใช้ของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ • บันทึกอัตราการไหล (L/min) อุณหภูมิ (C) ขาเข้าและออกของน้ำเย็น (3.1) บันทึกอุณหภูมิน้ำระบายความร้อนขาเข้าเครื่องทำน้ำเย็น (C) (สำหรับเครื่องทำน้ำเย็น แบบระบายความร้อนด้วยน้ำ) หรือ (3.2) บันทึกอุณหภูมิอากาศเข้าเครื่องทำน้ำเย็น (C) (สำหรับเครื่องทำน้ำเย็นแบบระบายความ ร้อนด้วยอากาศ) (4) บันทึกค่าต่างๆ ในขณะเวลาเดียวกัน ทุกๆ 15 นาที เป็นระยะเวลาครบรอบการทำงานใน 1 สัปดาห์

  14. (3.2) วิธีการตรวจวัดหลังการปรับปรุง (ต่อ) สำหรับมาตรการติดตั้งเครื่องทำน้ำเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) • บันทึกกำลังไฟฟ้า (kW) ที่ใช้ของเครื่องทำน้ำเย็น • บันทึกอัตราการไหล (L/min) อุณหภูมิ (C) ขาเข้าและออกของน้ำเย็น • บันทึกค่าต่างๆ ในขณะเวลาเดียวกัน ทุกๆ 15 นาที เป็นระยะเวลาครบรอบการ ทำงานใน 1 สัปดาห์ • บันทึกปริมาณไอน้ำที่ใช้ในการระเหยสารทำความเย็น

  15. ตัวอย่างการวัดปริมาณไอน้ำตัวอย่างการวัดปริมาณไอน้ำ

  16. (4) การประเมินผลประหยัด ผลประหยัด = (บาท/ปี) โดยที่ คือ ค่าสมรรถนะการทำความเย็น (Chp) ก่อนและหลังการปรับปรุง (kW/Ton) คือ ภาระการทำความเย็นรวมที่เกิดขึ้นในปีฐาน (1 ปี) ซึ่งหาได้จาก (Ton-hr/year) คือ ชั่วโมงการทำงานของเครื่องทำน้ำเย็นในปีฐาน (hr/year) คือ ราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ย (Baht/kWh)

  17. ตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการปรับปรุงเครื่องทำน้ำเย็นตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการปรับปรุงเครื่องทำน้ำเย็น

  18. ตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการปรับปรุงเครื่องทำน้ำเย็นตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการปรับปรุงเครื่องทำน้ำเย็น

  19. ตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการติดตั้ง เครื่องทำน้ำเย็นประสิทธิภาพสูง

  20. ตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการติดตั้ง เครื่องทำน้ำเย็นประสิทธิภาพสูง

  21. ตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการติดตั้ง เครื่องทำน้ำเย็นแบบดูดซึม

  22. ตัวอย่างผลการดำเนินมาตรการติดตั้ง เครื่องทำน้ำเย็นแบบดูดซึม

More Related